directions_run

โครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองปะเหลียน หาดสำราญ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดตรัง


“ โครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองปะเหลียน หาดสำราญ ”

อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
พระครูทีฆเขตตาภิรักษ์ เชื้อชาย

ชื่อโครงการ โครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองปะเหลียน หาดสำราญ

ที่อยู่ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0014 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองปะเหลียน หาดสำราญ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองปะเหลียน หาดสำราญ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองปะเหลียน หาดสำราญ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-00-0144-0014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา โดย 1 ใน 10 ของประชากรไทย เป็นประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และคาดว่าประเทศไทยจะเป็นสังคม “สังคมสูงวัยสมบูรณ์”(Aged Society) ที่จะมีผู้สูงอายุ 1 คนในประชากร 5 คนและในปี พ.ศ.2574 ประเทศไทยจะเข้าสู่“สังคมสูงวัยระดับสุด ยอด”(Super-aged society) ภายในปี พ.ศ.2578 โดยประมาณการว่าจะมีประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด และจากข้อมูลประชากรจังหวัดตรังพ.ศ. 2562 พบว่ามีประชากรทั้งสิ้น 504,815 คน เป็น ผู้สูงอายุจำนวน 90,320 คนคิดเป็นสัดส่วนผู้สูงอายุร้อยละ17.89 ซึ่งถือได้ว่าจังหวัดตรังได้เข้าสู่สังคมสูงวัยแล้ว จังหวัดตรังประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธมีวิถีชีวิตตามขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมแบบชาวพุทธ และช่วงบั้นปลายแห่งชีวิตผู้สูงอายุ โดยส่วนใหญ่จะเข้าวัดฟังธรรม และฝึกปฏิบัติธรรมตามหลักคำสอนของ พระพุทธเจ้า วัดจึงกลายเป็นสถานที่ที่พบว่ามีผู้สูงอายุมาทำกิจกรรมมาก โดยเฉพาะในวันพระ และวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา จากการประชุมร่วมกับผู้แทน 6 วัดเป้าหมายในพื้นที่เขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอปะเหลียน-หาดสำราญ ได้แก่ 1.วัดทุ่งยาว 2.วัดภูมิประสิทธิ์ 3.วัดในเขา4.วัดหนองสมาน5.วัดป่าธรรมาวาส และ 6 วัดธาตุสุขสำราญ พบว่า ด้านสุขภาพ พระสงฆ์แต่ละวัดบางรูปมีปัญหาสุขภาพโรคประจำตัวไม่ติดต่อทั้งเบาหวาน ความดัน การขาด พระคิลานุปัฎฐากในแต่ละวัด และพระส่วนใหญ่ไม่ได้รับการตรวจสุขภาพและการเฝ้าระวังสุขภาพจากเจ้าหน้าที่ หรือแกนนำอาสาสมัครด้านสาธารณสุขในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ด้านสภาพแวดล้อมพบสภาพปัญหา การไม่มีการเตรียมห้องน้ำสำหรับผู้สูงอายุครบทุกวัด ห้องน้ำปกติ เป็นอุปสรรคต่อการใช้งานสำหรับผู้สูงอายุ เช่น รางระบายน้ำ และพื้นต่างระดับ เป็นต้น การเชื่อมต่อระหว่าง อาคารไม่สะดวก ทางขึ้นต่างระดับบางวัดสูง บางวัดภายในศาลามีพื้นต่างระดับเป็นอุปสรรคสำหรับผู้สูงอายุซึ่ง อาจจะเกิดอันตรายจากการทำกิจกรรมได้ ดังนั้นเพื่อการขับเคลื่อนวัดต้นแบบเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ตามหลักสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย วิถี เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นรูปแบบของการดำเนินการบูรณาการส่งเสริมให้บุคคลเรียนรู้การดูแลสุขภาพตนเอง โดย ใช้เทคนิค 3 ส. (สวดมนต์ สมาธิ สนทนาธรรม) 3 อ.(อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์-วิถีพุทธ) และ 1 น.(นาฬิกา ชีวิต-วิถีพุทธ) เป็นหลักสำคัญเครื่องมือ 3 ส. 3 อ. 1 น. เป็นการพัฒนาด้านร่างกายจิตใจ วุฒิภาวะทางปัญญาใน การพึ่งตนเอง สอดคล้องกับบริบททางสังคม การพัฒนาให้พระคิลานุปัฎฐากมีความรอบรู้สุขภาพและทักษะในการ ดูแลสุขภาพ และด้านสภาพแวดล้อมก็มุ่งทยอยปรับลดจุดเสี่ยงภายในวัด รวมถึงขยายผลให้ญาติโยมพุทธบริษัท ของวัดมีความเข้าใจการเตรียมรองรับสังคมสูงวัยมากยิ่งขึ้น จึงเสนอโครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขต ปกครองคณะสงฆ์อำเภอปะเหลียน-หาดสำราญ เพื่อดำเนินการในวัดเป้าหมายให้เป็นวัดต้นแบบมีความพร้อม เตรียมรองรับสังคมสูงวัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนากลไกคณะทำงานศาสนสถานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง
  2. พัฒนาสภาพแวดล้อมวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  3. พฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงได้รับการเตรียมความพร้อม
  4. คุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  5. ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม
  6. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร
  7. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 1
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ พระคิลานุปัฎฐาก
  9. กิจกรรมวัดรอบรู้ห่างไกลโรค
  10. จัดทำป้ายปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ
  11. เวทีปฐมนิเทศโครงการ
  12. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ)
  13. บัญชีธนาคาร
  14. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่2 (ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม canva และรายงานกิจกรรมและบันทึกรายงานการเงินในระบบ www.happynetwork.org)
  15. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 2
  16. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 3
  17. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย
  18. กิจกรรมสำรวจเก็บข้อมูล สุขภาพพระสงฆ์
  19. กิจกรรมสำรวจเก็บข้อมูล สุขภาพพระสงฆ์ ครั้งที่ 2
  20. กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อม ตามผังแม่บท
  21. กิจกรรมสำรวจและจัดทำผัง แม่บท
  22. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแต่ละวัด(ปิ่นโต สุขภาพ, แสดงธรรม วันพระ เรื่อง การดูแล สุขภาพ, การปลูกผักปรอดสารพิษ มุม สมุนไพร เป็นต้น)
  23. กิจกรรมประเมินวัดเตรียม รองรับสังคมสูงวัย
  24. ิกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัดเตรียมรองรับ สังคมสูงวัย สู่ สังคม 3 วัยในชุมชน
  25. กิจกรรมสรุปบทเรียน
  26. การประสานงานและจัดทำรายงานโครงการ
  27. จัดทำบัญชี
  28. จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินโครงการ
  29. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3
  30. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่1
  31. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2
  32. เวทีแลกเปลี่ยนรู้กับ สสส.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ญาติธรรม อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป 60
พระภิกษุสงฆ์ สามเณร แม่ชี 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. บัญชีธนาคาร

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คืนเงินยืมทดลองเปิดบัญชี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คืนเงินยืมทดลองเปิดบัญชี

 

0 0

2. เวทีปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำพระของคณะสงฆ์อำเภอปะเหลียน-หาดสำราญ เข้าร่วมเวทีปฐมนิเทศโครงการ
  • แกนนำพระได้เข้าใจแนวทางการทำงานของ Node Flagship จังหวัดตรัง ซึ่งมีประเด็นในการขับเคลื่อน ได้แก่ ประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และประเด็นความมั่นคงทางอาหารข้าวตรัง
  • แกนนำพระเข้าใจเบื้องต้นโมเดลศาสนสถานเตรียมรองรับสังคมสูงวัย แนวทางการติดตาม ระเบียบการเงิน การรายงานผลการทำงานในระบบ www.happynetwork.org
  • มีตัวคณะสงฆ์ร่วม MOU เพื่อขับเคลื่อนประเด็นเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

3 0

3. พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ)

วันที่ 6 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำพระได้เข้าอบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ ซึ่งประกอบด้วยด้านสุขภาพ ด้านเศรษฐกิจการออม ด้านสังคม และด้านการปรับสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย

 

3 0

4. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 1

วันที่ 10 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน ณ โรงเรียนบ้านทุ่งยาว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชุมคณะทำงานวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอปะเหลียน-หาดสำราญ ณ ห้องประชุมโรงเรียนบ้านทุ่งยาว
  • พระมหารัตนากร เลขานุการฯ มีการชี้แจงรายละเอียดผลลัพธ์ กิจกรรม และตัวชี้วัดสำคัญ ของโครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอปะเหลียน
  • แกนนำพระในแต่ละวัด และญาติโยมพุทธบริษัทของวัดที่จะมาร่วมเป็นคณะทำงานมีความเข้าใจเบื้องต้นการดำเนินโครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ซึ่งมีจุดเน้นมิติด้านสุขภาพ และมิติสภาพแวดล้อม /มีการตอบคำถามข้อซักถามข้อสงสัยของโครงการ

 

0 0

5. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ พระคิลานุปัฎฐาก

วันที่ 6 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเชิงปฏิบัติการ พระคิลานุปัฎฐาก ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำพระสงฆ์ของคณะสงฆ์ อ.ปะเหลียน-หาดสำราญ ได้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ พระคิลานุปัฎฐาก ณ ห้องประชุม 116 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนีตรัง จ.ตรัง
  • แกนนำพระสงฆ์ได้เรียนรู้แนวคิดการดูแลสุขภาพเบื้องต้น การดูแลสุขภาพพระสงฆ์ตามพระธรรมวินัย การออกกำลังกายที่เหมาะสม การบริโภคอาหารที่เหมาะสม การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การเช็ดตัว การช่วยเหลือผู้ป่วยหยุดหายใจ การทำ CPR และการทดสอบหลักสูตรพระคิลานุปัฎฐากออนไลน์

 

0 0

6. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด  ครั้งที่1

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำพระของวัดทุ่งยาว วัดธาตุสุขสำราญ วัดหนองสมาน 4 รูปและโยมคณะทำงานของวัด 2 คน เข้าร่วมเวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ระดับจังหวัด ครั้งที่1
  • มีการนำเสนอผลการดำเนินงานที่ผ่านมาโดยมีพระแกนนำเข้าร่วมการพัฒนาศักยภาพเรียนรู้แนวคิดการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย และมีพระจากเขตปกครองคณะสงฆ์ อ.ปะเหลียน-หาดสำราญ หลักสูตรพระคิลานุปัฎฐาก จำนวน...รูป
    มีการลงพื้นที่มาสำรวจออกแบบวัดของทางคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์

 

3 0

7. กิจกรรมสำรวจเก็บข้อมูล สุขภาพพระสงฆ์

วันที่ 9 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 1 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

9. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 2

วันที่ 28 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

10. เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2

วันที่ 3 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

3 0

11. กิจกรรมสำรวจเก็บข้อมูล สุขภาพพระสงฆ์ ครั้งที่ 2

วันที่ 30 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

12. กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 3

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

13. กิจกรรมสำรวจและจัดทำผัง แม่บท

วันที่ 31 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

14. กิจกรรมวัดรอบรู้ห่างไกลโรค

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วัดรอบรู้ห่างไกลโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการสนับสนุนความรู้ให้พระรอบรู้ด้านสุขภาพห่างไกลโรค

 

0 0

15. กิจกรรมประเมินวัดเตรียม รองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

16. กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อม ตามผังแม่บท

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

17. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแต่ละวัด(ปิ่นโต สุขภาพ, แสดงธรรม วันพระ เรื่อง การดูแล สุขภาพ, การปลูกผักปรอดสารพิษ มุม สมุนไพร เป็นต้น)

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

18. จัดทำป้ายปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายชื่อโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายชื่อโครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

 

0 0

19. การประสานงานและจัดทำรายงานโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

2 0

20. จัดทำบัญชี

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

1 0

21. จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

22. ิกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัดเตรียมรองรับ สังคมสูงวัย สู่ สังคม 3 วัยในชุมชน

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

23. กิจกรรมสรุปบทเรียน

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ญาติธรรม อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป 60
พระภิกษุสงฆ์ สามเณร แม่ชี 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนากลไกคณะทำงานศาสนสถานเตรียมรองรับสังคมสูงวัยให้มีความเข้มแข็ง (2) พัฒนาสภาพแวดล้อมวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (3) พฤติกรรมสำคัญเตรียมรองรับสังคมสูงได้รับการเตรียมความพร้อม (4) คุณภาพชีวิตเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (5) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (6) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (7) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 1 (8) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ พระคิลานุปัฎฐาก (9) กิจกรรมวัดรอบรู้ห่างไกลโรค (10) จัดทำป้ายปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกกอฮอล์และป้ายชื่อโครงการ (11) เวทีปฐมนิเทศโครงการ (12) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ  ครั้งที่1 (อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนต้นแบบสังคมสูงวัย : การเตรียมรองรับสังคมสูงวัยใน 4 มิติ) (13) บัญชีธนาคาร (14) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่2 (ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม canva และรายงานกิจกรรมและบันทึกรายงานการเงินในระบบ www.happynetwork.org) (15) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 2 (16) กิจกรรมประชุมคณะทำงาน วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ครั้งที่ 3 (17) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ วัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัย (18) กิจกรรมสำรวจเก็บข้อมูล สุขภาพพระสงฆ์ (19) กิจกรรมสำรวจเก็บข้อมูล สุขภาพพระสงฆ์ ครั้งที่ 2 (20) กิจกรรมปรับสภาพแวดล้อม ตามผังแม่บท (21) กิจกรรมสำรวจและจัดทำผัง แม่บท (22) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ เตรียมรองรับสังคมสูงวัยในแต่ละวัด(ปิ่นโต สุขภาพ, แสดงธรรม วันพระ เรื่อง การดูแล สุขภาพ, การปลูกผักปรอดสารพิษ มุม สมุนไพร เป็นต้น) (23) กิจกรรมประเมินวัดเตรียม รองรับสังคมสูงวัย (24) ิกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วัดเตรียมรองรับ สังคมสูงวัย สู่ สังคม 3 วัยในชุมชน (25) กิจกรรมสรุปบทเรียน (26) การประสานงานและจัดทำรายงานโครงการ (27) จัดทำบัญชี (28) จัดทำชุดนิทรรศการแสดงผลการดำเนินโครงการ (29) พัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 (30) เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด  ครั้งที่1 (31) เวทีสะท้อนผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 (32) เวทีแลกเปลี่ยนรู้กับ สสส.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัดเตรียมรองรับสังคมสูงวัยในเขตปกครองคณะสงฆ์อำเภอเมืองปะเหลียน หาดสำราญ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0014

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( พระครูทีฆเขตตาภิรักษ์ เชื้อชาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด