task_alt

โครงการส่งเสริมผลิตข้าวปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ตำบลโคกสะบ้า

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมผลิตข้าวปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหาร ตำบลโคกสะบ้า

ชุมชน ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0017 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มิถุนายน 2565 ถึงเดือน กันยายน 2565

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าเปิดบัญชีธนาคาร

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คืนเงินยืมทดลองเปิดบัญชี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เงินยืมทดลองเปิดบัญชี

 

0 0

2. จัดทำบัญชี

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ปิดระบบบัญชี

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จ่ายค่าจัดทำบัญชี จำนวน 1 คน

 

0 0

3. ประสานงานและจัดทำโครงการ

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จัดทำโครงการในพื้นที่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จ่ายค่าประสานงานโครงการ

 

0 0

4. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

 

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

 

 

0 0

5. ปฐมนิเทศโครงการย่อย

วันที่ 2 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานได้รับความรู้ในการดำเนินการจัดทำโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ปฐมนิเทศน์โครงการและบันทึกความร่วมมือเพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะฯ พื้นที่จังหวัดตรัง สู่ธง ตรัง เมืองแห่งความสุข คุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืนประเด็นความมั่นคงทางอาหารในวิกฤต "ข้าว" ณ วิทยาลับพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

 

0 0

6. ประชุมคณะกรรมการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ครั้งที่ 1

วันที่ 13 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.มีคณะกรรมการสร้างความมั่นคงทางอาหาร (กรณีข้าวปลอดภัย) ตำบลโคกสะบ้า จำนวน 15 คน / อาสาสมัครเกษตรกรผลิตข้าวปลอดภัย จำนวน 6 คน 2.มีบทบาทหน้าที่คณะทำงาน / อาสาสมัครเกษตรกรผลิตข้าวปลอดภัย 3.มีไทม์ไลน์กิจกรรม ตลอดโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

13 มิถุนายน 2565 เวลา 13.00 น.  นำเสนอที่มาโครงการ รายละเอียดโครงการ
- วันที่ 13 มิถุนายน 2565 เทียบเชิญคณะทำงานตามการนำเสนอของสมาชิกประชุมคณะทำงานโครงการฯ ย่อยระดับพื้นที่ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสะบ้า นำเสนอบทบาทหน้าที่ กรอบการทำงาน ไทม์ใลน์ของกิจกรรม หาข้อสรุปร่วมกัน จำนวน ๒๒ คน
- เบิกค่าอาหารว่าง จำนวน ๒๑ คนๆ ละ ๔๐ บาท รวมเป็นเงิน ๘๔๐ บาท 19 ตุลาคม 2565 เวลา 13.00 น.
- ประชุมกลุ่มย่อยคณะกรรมการความมั่นคงทางอาหาร จำนวน 10 คน - เบิกค่าอาหารว่าง จำนวน ๑๐ คนๆ ละ ๔๐ บาท รวมเป็นเงิน ๔๐๐ บาท

 

20 0

7. ข้าวโคกสะบ้าเพื่อคน โคกสะบ้า

วันที่ 3 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ส่งเสริมการเรียรรู้ สืบสานภูมิปัญญาการปลูกข้าวไร่ และผลผลิตส่วนหนึ่งจะให้กับโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลโคกสะบ้า

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วันที่ 3 สิงหาคม 2565 เวลา 13.00 น. กิจกรรม ลงแขกแทงสัก หนำข้าวไร่ ณ แปลงสาธิตปลุกข้าวไร่ บ้านไสขัน หมู่ที่ 6 ตำบลโคกสะบ้า โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วย คณะทำงานโครงการฯ กลุ่มเกษตรกรปลูกข้าวปลอดภัย คณะครูนักเรียนในเขตพื้นที่ตำบลโคกสะบ้า คณะผู้นำชุมชน และภาคีเครือข่ายสนับสนุน รวมถึงผู้สนใจ จำนวน 74 คน วันที่ 14-15 ธันวาคม 2565 เวลา 08.00-16.30 น. กิจกรรมเก็บข้าวแปลงสาธิต จำนวน 2 วันๆ ละ 8 คน

 

60 0

8. พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2

วันที่ 16 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

คณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

วันที่ 16 กันยายน 2565 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง ประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้โปรแกรม canva และรายงานกิจกรรม และบันทึกรายงานการเงินในระบบ happy network

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 27 8                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 14,380.00                  
คุณภาพกิจกรรม 32                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

การประสานภาคีเครือข่ายมีข้อจำกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพมีความเห็นว่าโครงการเกี่ยวข้องกับการเกษตรเพียงอย่างเดียว

ความไม่เข้าใจประเด็นการเชื่อมโยงกับระบบสุขภาพ คิดว่าความมั่นคงทางอาหารด้านข้าวเกี่ยวข้องกับหน่วยงานทางด้านการเกษตรอย่างเดียว

ต้องสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานด้านสุขภาพในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. ป้ายปลอดบุหรี่ ( 14 พ.ย. 2565 )

(................................)
นายสุพรรรพิษ สุวรรณวัฒน์
ผู้รับผิดชอบโครงการ