directions_run

โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตข้าว ตำบลนาข้าวเสีย

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล
ตัวชี้วัด : 1.1 คณะทำงานประกอบด้วยภาคีดำเนินการ เช่น นายกองค์การบริหารส่วน ตำบลนาข้าวเสีย. เจ้าหน้าที่เกษตรตำบล รพ.สต.นาข้าวเสีย รพ.สต.เกาะปุด กำนัน ตัวแทนกลุ่มนาแปลงใหญ่ ตัวแทนกลุ่มนาอินทรีย์๓ กลุ่ม ตัวแทนกลุ่ม ข้าวไร่ กลุ่มองค์กรภาคประชาชนในพื้นที่ เช่น สภาองค์กรชุมชนตำบล ชมรม ผู้สูงอายุตำบลนาข้าวเสีย และภาควิชาการ โรงเรียนในพื้นที่ 3 โรงเรีน ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 20 คน 1.2 คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจประเด็นความมั่งคงทางอาหารกรณีข้าวใน ระดับตำบลและการผลิตข้าวตรังปลอดภัยไม่ต่ำจากร้อยละ ๘๐ 1.3 คณะทำงานมีแผนการดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต โควิด ข้าวตรัง 1.4 มีฐานข้อมูลการวิเคราะห์ความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบลครอบคลุม ข้อมูลการผลิตข้าวตรัง ปลอดภัย จำนวนครัวเรือนผลิตข้าวจำนวนพื้นที่การผลิต ข้าว การวิเคราะห์ระดับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังของชุมชน และการ บริโภคข้าวตรังในตำบล 1.5 มีข้อตกลงของชุมชนในพื้นที่ตำบลดำเนินโครงการสร้างความมั่นคงทาง อาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวตรัง ที่เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังใน ตำบลและการร่วมมือกันผลิตข้าวตรังปลอดภัย 1.6 สมาชิกในพื้นที่รับรู้และปฏิบัติตามข้อตกลงที่ร่วมกัน
1.00

กลไกคณะทำงานมีผู้ประสานในระดับชุมชนที่มีความสามารถ ได้รับการยอมรับในชุมชน บวกกับผู้ประสานงานในโครงการมีความรู้ความเข้าใจ การสานพลังกัน 2 ส่วนนี้ทำให้เกิดความร่วมมือในระดับตำบลได้ดี

2 เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค
ตัวชี้วัด : 2.1 พื้นที่ปลูกข้าวตรังในตำบลเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20 จากพื้นที่ปลูกข้าวที่ มีอยู่เดิม 2.2 มีการจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพได้เพียงพอต่อความต้องการปลูกในพื้นที่ 2.3 มีการพัฒนาคุณภาพการผลิตข้าวสู่มาตรฐานข้าวปลอดภัย เช่น มาตรฐานที่ ชุมชนร่วมกันรับรอง มาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.4 มีการเพิ่มผลผลิตข้าวอย่างน้อยตำบลละ 1 แนวทาง 2.5 ประชาชนในตำบลเห็นคุณประโยชน์ข้าวตรัง ปลอดภัยหันมาบริโภคเพิ่มขึ้น 2.6 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคภายในตำบล 2.7 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคในระดับเครือข่าย ตำบลที่ดำเนินโครงการ
2.00

แกนนำโคงการมีเทคโนโลยีช่วยทำนา เช่น รถไถ รถดำนา ทำให้การส่งเสริมเป็นไปรวดเร็ว แต่มีปัญหากับสภาวะลานิญามี่ทำให้ฝนตกตลอดปีเป็นอุปสรรคตาการขยายพื้นที่ปลูกข้าวเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตามชุมชนมีความตั้งใจสูงในการส่งเสริมการปลูกข้าวในปีถัดไป รวมถึงเตรัยมการจัดการนาปรังในรอบที่จะถึงนี้ด้วย

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 3.1 จำนวนครัวเรือนของผู้บริโภคข้าวตรังในชุมชนเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 3.2 ข้าวตรังที่ผลิตโดยชุมชนมีความปลอดภัยตามมาตรฐานสาธารณสุข

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้บริโภค 100
เกษตรกรทำนาอินทรีย์ 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล (2) เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร (2) พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล (3) การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ (4) ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย (5) ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น (6) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (7) บัญชีธนาคาร (8) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (9) ศึกษาดูงาน การจัดการวิสาหกิจให้ เข้มแข็งและยั่งยืน (10) การจัดการ ตลาดผ่านระบบออนไลน์ เพื่อการบริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย (11) การทำสื่อ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (12) ปฐมนิเทศโครงการย่อย (13) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1 (14) นิทรรศการ (15) จัดทำบัญชี (16) ประสานงานและจัดทำโครงการ (17) ป้ายปลอดบุหรี่ (18) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (19) ประชุม กำหนดข้อตกลงร่วมกัน (20) วัฒนธรรมข้าว ชุมชนสู่คนรุ่นใหม่เพื่อ พัฒนาข้าวตรัง (21) ธนาคารเมล็ด พันธุ์ (ตรวจวิเคราะห์คุณภาพดิน) (22) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (23) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (24) ประชุม คณะกรรมการ ครั้งที่ 1 (25) การแปรรูป ข้าวเพื่อการส่งเสริมการ บริโภคข้าวตรัง ครั้งที่ 1 (26) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (27) ARE ครั้งที่ 1 (28) อบรมให้ ความรู้ความเข้าใจประเด็น ความมั่นคงทางอาหาร (29) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (30) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2 (31) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3 (32) ARE ครั้งที่ 2 (33) ARE ครั้งที่ 3 (34) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (35) ประชุม คณะกรรมการ ครั้งที่ 2 (36) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 (37) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 (38) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 (39) การแปรรูป ข้าวเพื่อการส่งเสริมการ บริโภคข้าวตรัง ครั้งที่ 2 (40) ประชุม คณะกรรมการ ครั้งที่ 3 (41) วัฒนธรรมข้าว ชุมชนสู่คนรุ่นใหม่เพื่อ พัฒนาข้าวตรัง ครั้งที่ 2 (42) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 (43) การจัดการ ตลาดผ่านระบบออนไลน์ เพื่อการบริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย ครั้งที่ 2 (44) ถอด บทเรียนจากการทำ โครงการ / สรุปกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh