directions_run

โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตข้าว ตำบลนาข้าวเสีย

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตข้าว ตำบลนาข้าวเสีย
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดตรัง
รหัสโครงการ 65-00-0144-0021
วันที่อนุมัติ 1 มิถุนายน 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2566
งบประมาณ 120,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มทำนาตำบลนาข้าวเสีย
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายวีรพล เต็งรัง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 095-0181761
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ นายสำราญ สมาธิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 1 มิ.ย. 2565 30 ก.ย. 2565 48,000.00
2 1 ต.ค. 2565 31 ม.ค. 2566 1 ต.ค. 2565 31 ม.ค. 2566 60,000.00
3 1 ก.พ. 2566 30 ก.ย. 2566 1 ก.พ. 2566 30 ก.ย. 2566 12,000.00
รวมงบประมาณ 120,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานปรับสภาพสิ่งแวดล้อม
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ข้าวถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของประเทศไทยตามยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี ยุทธศาสตร์ที่สามการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพ แผนพัฒนาชาติ ฉบับที่ 12 ด้านที่สี่การเติบโตเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง เป็นพื้นที่ที่มีการทำนามากที่สุดในจังหวัดตรัง ประกอบไปด้วย 6 ตำบล คือ ตำบลนาโยงเหนือ ตำบลช่อง ตำบลละมอ ตำบลนาหมื่นศรี ตำบลโคกสะบ้า และตำบลนาข้าวเสีย ประกอบไป ด้วย 53 หมู่บ้าน โดยมีพื้นที่ทั้งหมด 165.1 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ที่ทำนาโดยประมาณ 4,646.94 ไร่ ตำบลนาข้าวเสีย อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง มีพื้นที่ 20 ตารางกิโลเมตร คิดเป็น 12,500 ไร่ มี 10 หมู่บ้าน มีจำนวนประชากร 9,328 คน มีพื้นที่ที่มีการทำนามากที่สุดในอำเภอนาโยง จำนวน 1,647 ไร่ เกษตรกรมีการ รวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มผู้ผลิตข้าวอินทรีย์ มีด้วยกัน 3 กลุ่มดังนี้ 1.กลุ่มวิสาหกิจชุมชน พัฒนาการเกษตรกรครบวงจรฝายคลองนางน้อย มีจำนวนสมาชิก 143 คน พื้นที่ทำนา 785 ไร่ 2. กลุ่มผู้ผลิตข้าวอินทรีย์บ้านนาปด มีสมาชิก 39 คน พื้นที่ทำนา 180 ไร่ 3. กลุ่มผู้ผลิตข้าวอินทรีย์บ้านนาทุ่งเคียน มีจำนวนสามาชิก 35 คน พื้นที่ทำนา 156 ไร่ จากข้อมูลองค์การบริหารส่วนตำบลนาข้าวเสีย จำนวนประชากร 1,480 คน เป็นผู้สูงอายุ มีผู้มายื่นลงทะเบียน รับเงินยังชีพ ผู้สูงอายุในแต่ละปี ไม่น้อยกว่า 100 คน ณ ปัจจุบัน ประมาณร้อยละ16 และในอีก 10 ปีข้างหน้า จะมีอัตราการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุเกินร้อยละ20 เกษตรกรผู้ทำนาข้าวอินทรีย์ในตำบลนาข้าวเสียทั้ง 3 กลุ่ม มีจำนวนรวมกัน 216 คน ร้อยละ60 จัดอยู่ในกลุ่ม ผู้สูงอายุ และร้อยละ20 จัดอยู่ในกลุ่มผู้กำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงวัย กลุ่มผู้สูงอายุ ที่เป็นเกษตรกรทำนาข้าว ไม่มีทายาท ในการสืบทอดการทำนาข้าว หรือมีแต่ไม่ได้รับการส่งเสริม ขาดทักษะในการทำนาข้าว ขาดทักษะในกระบวนการ การแปรรูป การตลาด ดังนั้น ผู้จัดทำโครงการได้เล็งเห็นว่าการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุในแต่ละปีส่งผลกระทบให้ จำนวนเกษตรกรผู้ทำนาข้าวลดลงตามไปด้วย ยังส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหารอีกด้วย คณะผู้จัดทำโครงการจึงมีความเห็นที่จะจัดโครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต มาอยู่ในระบบ วิธีหน้าและให้ชุมชนเห็นความสำคัญของกระบวนการผลิตข้าวเชิงชีววิทยาร่วมคิดร่วมทำ เพื่อรักษาวิถีการทำนา รักษาพื้นที่นา และสำคัญที่สุดคือได้สร้างความมั่นคงทางอาหารให้กับตนเองและชุมชน

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล

1.1 คณะทำงานประกอบด้วยภาคีดำเนินการ เช่น นายกองค์การบริหารส่วน ตำบลนาข้าวเสีย. เจ้าหน้าที่เกษตรตำบล รพ.สต.นาข้าวเสีย รพ.สต.เกาะปุด กำนัน ตัวแทนกลุ่มนาแปลงใหญ่ ตัวแทนกลุ่มนาอินทรีย์๓ กลุ่ม ตัวแทนกลุ่ม ข้าวไร่ กลุ่มองค์กรภาคประชาชนในพื้นที่ เช่น สภาองค์กรชุมชนตำบล ชมรม ผู้สูงอายุตำบลนาข้าวเสีย และภาควิชาการ โรงเรียนในพื้นที่ 3 โรงเรีน ศูนย์ พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 20 คน
1.2 คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจประเด็นความมั่งคงทางอาหารกรณีข้าวใน ระดับตำบลและการผลิตข้าวตรังปลอดภัยไม่ต่ำจากร้อยละ ๘๐
1.3 คณะทำงานมีแผนการดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต โควิด ข้าวตรัง
1.4 มีฐานข้อมูลการวิเคราะห์ความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบลครอบคลุม ข้อมูลการผลิตข้าวตรัง ปลอดภัย จำนวนครัวเรือนผลิตข้าวจำนวนพื้นที่การผลิต ข้าว การวิเคราะห์ระดับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังของชุมชน และการ บริโภคข้าวตรังในตำบล
1.5 มีข้อตกลงของชุมชนในพื้นที่ตำบลดำเนินโครงการสร้างความมั่นคงทาง อาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวตรัง ที่เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังใน ตำบลและการร่วมมือกันผลิตข้าวตรังปลอดภัย
1.6 สมาชิกในพื้นที่รับรู้และปฏิบัติตามข้อตกลงที่ร่วมกัน

2 เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค

2.1 พื้นที่ปลูกข้าวตรังในตำบลเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20 จากพื้นที่ปลูกข้าวที่ มีอยู่เดิม
2.2 มีการจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพได้เพียงพอต่อความต้องการปลูกในพื้นที่
2.3 มีการพัฒนาคุณภาพการผลิตข้าวสู่มาตรฐานข้าวปลอดภัย เช่น มาตรฐานที่ ชุมชนร่วมกันรับรอง มาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์
2.4 มีการเพิ่มผลผลิตข้าวอย่างน้อยตำบลละ 1 แนวทาง
2.5 ประชาชนในตำบลเห็นคุณประโยชน์ข้าวตรัง ปลอดภัยหันมาบริโภคเพิ่มขึ้น
2.6 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคภายในตำบล
2.7 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคในระดับเครือข่าย ตำบลที่ดำเนินโครงการ

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย

3.1 จำนวนครัวเรือนของผู้บริโภคข้าวตรังในชุมชนเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10
3.2 ข้าวตรังที่ผลิตโดยชุมชนมีความปลอดภัยตามมาตรฐานสาธารณสุข

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้บริโภค 100 -
เกษตรกรทำนาอินทรีย์ 30 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65ก.ย. 65ต.ค. 65พ.ย. 65ธ.ค. 65ม.ค. 66ก.พ. 66มี.ค. 66เม.ย. 66พ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66
1 พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 17,600.00                                
2 พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 10,975.00                                
3 การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 43,650.00                                
4 ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 23,750.00                                
5 ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 4,025.00                                
6 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 20,000.00                                
7 บัญชีธนาคาร(1 มิ.ย. 2565-31 มี.ค. 2566) 0.00                                
รวม 120,000.00
1 พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 180 17,600.00 11 13,275.00
1 - 30 มิ.ย. 65 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 15 450.00 690.00
31 ก.ค. 65 - 30 ส.ค. 65 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 15 450.00 140.00
1 ส.ค. 65 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 15 450.00 210.00
1 - 30 ก.ย. 65 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 15 450.00 210.00
2 ก.ย. 65 - 2 ก.ค. 66 อบรมให้ ความรู้ความเข้าใจประเด็น ความมั่นคงทางอาหาร 30 13,100.00 10,940.00
1 - 31 ต.ค. 65 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 15 450.00 210.00
1 - 30 พ.ย. 65 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 15 450.00 175.00
1 - 31 ธ.ค. 65 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 15 450.00 175.00
10 ม.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 15 450.00 175.00
1 ก.พ. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 15 450.00 175.00
1 มี.ค. 66 - 31 พ.ค. 66 ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10 15 450.00 175.00
2 พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 75 10,975.00 4 9,150.00
10 ก.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 ประชุม กำหนดข้อตกลงร่วมกัน 30 5,050.00 2,700.00
15 ส.ค. 65 ประชุม คณะกรรมการ ครั้งที่ 1 15 1,975.00 2,150.00
15 พ.ย. 65 - 20 พ.ค. 65 ประชุม คณะกรรมการ ครั้งที่ 2 15 1,975.00 2,150.00
15 ก.พ. 66 ประชุม คณะกรรมการ ครั้งที่ 3 15 1,975.00 2,150.00
3 การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 43,650.00 4 42,710.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 ศึกษาดูงาน การจัดการวิสาหกิจให้ เข้มแข็งและยั่งยืน 40 18,000.00 10,500.00
17 ก.ค. 65 วัฒนธรรมข้าว ชุมชนสู่คนรุ่นใหม่เพื่อ พัฒนาข้าวตรัง 30 6,300.00 5,550.00
20 ก.ค. 65 ธนาคารเมล็ด พันธุ์ (ตรวจวิเคราะห์คุณภาพดิน) 30 19,350.00 21,500.00
25 ก.พ. 66 วัฒนธรรมข้าว ชุมชนสู่คนรุ่นใหม่เพื่อ พัฒนาข้าวตรัง ครั้งที่ 2 0 0.00 5,160.00
4 ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 169 23,750.00 4 13,886.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 การจัดการ ตลาดผ่านระบบออนไลน์ เพื่อการบริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย 24 6,150.00 3,720.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 การทำสื่อ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 130 3,000.00 3,000.00
18 ส.ค. 65 การแปรรูป ข้าวเพื่อการส่งเสริมการ บริโภคข้าวตรัง ครั้งที่ 1 15 14,600.00 2,926.00
4 ก.พ. 66 การแปรรูป ข้าวเพื่อการส่งเสริมการ บริโภคข้าวตรัง ครั้งที่ 2 0 0.00 4,240.00
5 ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 4,025.00 2 5,920.00
10 มี.ค. 66 การจัดการ ตลาดผ่านระบบออนไลน์ เพื่อการบริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย ครั้งที่ 2 0 0.00 3,720.00
27 พ.ค. 66 ถอด บทเรียนจากการทำ โครงการ / สรุปกิจกรรม 20 4,025.00 2,200.00
6 ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 20,000.00 7 10,005.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 ปฐมนิเทศโครงการย่อย 0 1,700.00 800.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1 0 1,700.00 -
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 นิทรรศการ 0 2,000.00 2,000.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 จัดทำบัญชี 0 2,000.00 2,000.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 ประสานงานและจัดทำโครงการ 0 3,000.00 3,000.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 ป้ายปลอดบุหรี่ 0 1,000.00 1,000.00
1 ก.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 ARE ครั้งที่ 1 15 1,700.00 805.00
1 ต.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2 0 1,700.00 400.00
1 ต.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3 0 1,700.00 -
1 ต.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 ARE ครั้งที่ 2 15 1,700.00 -
1 ต.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 ARE ครั้งที่ 3 0 1,800.00 -
7 บัญชีธนาคาร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 1 500.00
1 มิ.ย. 65 - 31 มี.ค. 66 ค่าเปิดบัญชีธนาคาร 0 0.00 500.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ก.ย. 2565 17:02 น.