directions_run

2 สร้าง สร้างความมั่นคงด้านอาหาร&สร้างสุขภาพที่ดีให้คนตรัง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล
ตัวชี้วัด : 1.1 คณะทำงานประกอบด้วยภาคีดำเนินการ เช่นอปท. เจ้าหน้าที่เกษตร รพ.สต. ท้องที่ ตัวแทนกลุ่มนาแปลงใหญ่ ตัวแทนกลุ่มนาอินทรีย์ ตัวแทนกลุ่มข้าวไร่ กลุ่ม องค์กรภาคประชาชนในพื้นที่ 1.2 คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจประเด็นความมั่งคงทางอาหารกรณีข้าวใน ระดับตำบลและการผลิตข้าวตรังปลอดภัยไม่ต่ำจากร้อยละ ๘๐ 1.3 คณะทำงานมีแผนการดำเนินกงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต โควิด ข้าวตรัง 1.4 มีฐานข้อมูลการวิเคราะห์ความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบลครอบคลุม ข้อมูลการผลิตข้าวตรัง ปลอดภัย จำนวนครัวเรือนผลิตข้าวจำนวนพื้นที่การผลิต ข้าว การวิเคราะห์ระดับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังของชุมชน และการบริโภค ข้าวตรังในตำบล 1.5 มีข้อตกลงของชุมชนในพื้นที่ตำบลดำเนินโครงการสร้างความมั่นคงทางอาหาร ในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวตรัง ที่เกี่ยวกับความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบล และการร่วมมือกันผลิตข้าวตรังปลอดภัย 1.6 สมาชิกในพื้นที่รับรู้และปฏิบัติตามข้อตกลงที่ร่วมกัน

 

2 เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค
ตัวชี้วัด : 2.1 พื้นที่ปลูกข้าวตรังในตำบลเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20 จากพื้นที่ปลูกข้าวที่มี อยู่เดิม 2.2 มีการจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพได้เพียงพอต่อความต้องการปลูกในพื้นที่ 2.3 มีการพัฒนาคุณภาพการผลิตข้าวสู่มาตรฐานข้าวปลอดภัย เช่น มาตรฐานที่ ชุมชนร่วมกันรับรอง มาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.4 มีการเพิ่มผลผลิตข้าวอย่างน้อยตำบลละ 1 แนวทาง 2.5 ประชาชนในตำบลเห็นคุณประโยชน์ข้าวตรัง ปลอดภัยหันมาบริโภคเพิ่มขึ้น 2.6 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคภายในตำบล 2.7 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคในระดับเครือข่ายตำบล ที่ดำเนินโครงการ

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 3.1 จำนวนครัวเรือนของผู้บริโภคข้าวตรังในชุมชนเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 3.2 ข้าวตรังที่ผลิตโดยชุมชนมีความปลอดภัยตามมาตรฐานสาธารณสุข

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ประชาชนผู้บริโภคข้าว 100
เกษตรกรทำนา 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล (2) เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค (3) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร (2) พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล (3) การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ (4) ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย (5) ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น (6) ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม (7) บัญชีธนาคาร (8) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 (9) การจัดทำ ข้อตกลงความมั่นคงทาง อาหารข้าวตำบลนาพละ (10) การฝึกทักษะ การผลิตข้าวปลอดภัยตาม มาตรฐาน GAP (11) การอบรมให้ ความรู้เรื่องการแปรรูปข้าว เพื่อการบริโภคและจำหน่าย (12) ธนาคารเมล็ด พันธุ์ข้าวตำบลนาพละ (13) โรงเรียน ชาวนาน้อย (14) เวทีชุมชน เพื่อสร้างการเรียนรู้และ สร้างความยอมรับต่อข้าวที่ ปลูกในพื้นที (15) สร้าง แพลตฟอร์มการตลาดของ ข้าวในชุมชนและเครือข่าย ข้าวในจังหวัดตรัง (16) การวิเคราะห์ ตัวอย่างข้าวที่ปลูกในพื้นที่ เพื่อรับรองความปลอดภัย โดยสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตรัง (17) ปฐมนิเทศโครงการย่อย (18) ประสานงานและจัดทำโครงการ (19) นิทรรศการ (20) ป้ายปลอดบุหรี่ (21) จัดทำบัญชี (22) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 (23) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3 (24) ค่าเปิดบัญชีธนาคาร (25) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4 (26) ARE ครั้งที่ 1 (27) ARE ครั้งที่ 2 (28) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1 (29) พัฒนาวิสาหกิจให้มีความเข้มแข็ง (30) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5 (31) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2 (32) พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3 (33) ARE ครั้งที่ 3 (34) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 6 (35) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 7 (36) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 8 (37) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 9 (38) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 10

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh