directions_run

โครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนากลไก คณะทำงานความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิด : ข้าวตรัง ในระดับ ตำบล
ตัวชี้วัด : 1.1 คณะทำงานประกอบด้วยภาคีดำเนินการ เช่น นายกอบต.นาหมื่นศรี. เจ้าหน้าที่เกษตรตำบล รพ.สต.นาหมื่นศรี กำนัน ตัวแทนกลุ่มนาแปลง ใหญ่ ตัวแทนกลุ่มนาอินทรีย์ ตัวแทนกลุ่มข้าวไร่ กลุ่มองค์กรภาค ประชาชนในพื้นที่ เช่น สภาองค์กรชุมชนตำบล ชมรมผู้สูงอายุตำบล ประธานกลุ่มผ้าทอ จำนวน 17 1.2 คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจประเด็นความมั่งคงทางอาหารกรณี ข้าวในระดับตำบลและการผลิตข้าวตรังปลอดภัยไม่ต่ำจากร้อยละ 80 1.3 คณะทำงานมีแผนการดำเนินกงานสร้างความมั่นคงทางอาหารใน ภาวะวิกฤตโควิด ข้าวตรัง 1.4 มีฐานข้อมูลการวิเคราะห์ความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในตำบล ครอบคลุมข้อมูลการผลิตข้าวตรัง ปลอดภัย จำนวนครัวเรือนผลิตข้าว จำนวนพื้นที่การผลิตข้าว การวิเคราะห์ระดับความมั่นคงทางอาหารข้าว ตรังของชุมชน และการบริโภคข้าวตรังในตำบล 1.5 มีข้อตกลงของชุมชนในพื้นที่ตำบลนาหมื่นศรีดำเนินโครงการสร้าง ความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด ข้าวตรัง ที่เกี่ยวกับความมั่นคง ทางอาหารข้าวตรังในตำบลและการร่วมมือกันผลิตข้าวตรังปลอดภัย 1.6 สมาชิกในพื้นที่รับรู้และปฏิบัติตามข้อตกลงที่ร่วมกัน
1.00

เกิดกลไกคณะทำงาน มีการประชุมตามความเหมาะสม การจัดทำข้อมูลเบื้องต้นจัดทำได้ตามศักยภาพชุมชน ความรู้ของคณะทำงานอยู่ในระดับปานกลาง มีแผนการดำเนินงานและข้อตกลงแต่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมในการทำงานเพิ่มขึ้น

ความร่วมมือจากภาคีสุขภาพและหน่วยงานที่เกี่ยวกับข้าวเข้ามาเป็นเจ้าภาพหนุนช่วยชุมชน

เนื่องจากนาหมื่นศรีมีองค์กรในระดับชุมชนหลายองค์กร การประสานความร่วมมือมีอุปสรรคบ้าง และทีมทำงานรุ่นหนุมสาวมีจำนวนน้อย

2 เพื่อพัฒนาสร้างความมั่นคง ทางอาหารในภาวะวิกฤตโค วิดด้วยการฟื้นฟูข้าวตรัง ปลอดภัย ผ่านกระบวนการ ผลิต การตลาดและการ บริโภค
ตัวชี้วัด : 2.1 พื้นที่ปลูกข้าวตรังในตำบลนาหมื่นศรีเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20 จากพื้นที่ปลูกข้าวที่มีอยู่เดิม 2.2 มีการจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพได้เพียงพอต่อความต้องการปลูก ในพื้นที่ 2.3 มีการพัฒนาคุณภาพการผลิตข้าวสู่มาตรฐานข้าวปลอดภัย เช่น มาตรฐานที่ชุมชนร่วมกันรับรอง มาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.4 มีการเพิ่มผลผลิตข้าวอย่างน้อยตำบลละ 1 แนวทาง 2.5 ประชาชนในตำบลเห็นคุณประโยชน์ข้าวตรัง ปลอดภัยหันมาบริโภค เพิ่มขึ้น 2.6 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคภายในตำบล 2.7 มีการจัดการตลาดข้าวตรังเพื่อกระจายข้าวสู่ผู้บริโภคในระดับ เครือข่ายตำบลที่ดำเนินโครงการ
2.00

เกิดรูปแบบแนวทางการเพิ่มผลผลิต มีแปลงนาสาธิต การคัดแยกจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวที่เหมาะสม การดำเนินแผนงานนาอินทรีย์ต่อเนื่องในปีที่ 4

การเห็นความสำคัญของนาอินทรีย์ในระดับชุมชนและดำเนินการต่อเนื่องจากปีก่อนเป็นผลมาจากการกระตุ้นของเครือข่ายโครงการ

ปริมาณฝนตกมากเกินเกณฑ์เป็นอุปสรรคต่อการขยายพื้นที่การปลูกข้าว

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ชาวตรังได้บริโภคข้าวตรัง ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 3.1 จำนวนครัวเรือนของผู้บริโภคข้าวตรังในชุมชนเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 10 3.2 ข้าวตรังที่ผลิตโดยชุมชนมีความปลอดภัยตามมาตรฐานสาธารณสุข