directions_run

โครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
พัฒนากลไกคณะทำงานความมั่นคงทางอาหาร 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาข้อตกลงดำเนินงานสร้างความมั่นคงทางอาหารในระดับตำบล 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การพัฒนาสร้างความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติ 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชาชนชาวตรังสามารถเข้าถึงข้าวตรังปลอดภัย 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชาชนชาวตรังบริโภคข้าวตรังมากขึ้น 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ส่วนที่ สสส. สนับสนุนเพิ่มเติม 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชุม คณะกรรมการความมั่นคงทาง อาหารในภาวะวิกฤต ข้าว ตำบลนาหมื่นศรี ครั้งที่ 2 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ประชุม คณะกรรมการความมั่นคงทาง อาหารในภาวะวิกฤต ข้าว ตำบลนาหมื่นศรี ครั้งที่ 3 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

เวทีจัดทำข้อตกลง ความมั่นคงทางอาหารข้าว ตำบลนาหมื่นศรี 1 มิ.ย. 2565 1 พ.ค. 2566

 

เตรียมการประสานงานภาคีต่าง ๆ โดยมีการเสวนาระดมความคิดเห็นร่วมกับคณะทำงาน เครือข่ายเกษตรกรทำนา ผู้นำท้องถิ่น และองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในประเด็นความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด รวมถึงกำหนดแผนการดำเนินงานตามข้อตกลงร่วมกัน และจัดทำฐานข้อมูลความมั่นคงทางอาหารข้าวของตำบล ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คน โดยมีวิทยากร คือนางสาวณัฐธยาน์ มียัง เสวนาในประเด็น 1....2.... 3....โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความรู้ความเข้าใจ วิเคราะห์ข้อมูลประเด็นความทางอาหารของข้าวในระดับตำบล ต.นาหมื่นศรี พบว่า ด้านการผลิตข้าว ในพื้นที่มีการปลูกข้าวจำนวน....ไร่ ได้ผลผลิต....กิโลกรัม สามารถคำนวณเป็นข้าวสาร ทั้งหมด โดยมีการจำหน่ายข้าวที่ปลูกเอง จำนวน...แห่ง จากข้อมูลพื้นฐาน ต.นาหมื่นศรี มีประชากร 6,995 คน คำนวณความต้องการของผู้บริโภคใน 1 ปี เท่ากับ 580.58 ตัน ดังนั้นข้าวที่ผลิตภายในตำบลเปรัยบเทียบกับข้าวที่บริโภคภายในตำบลได้ในร้อยละ.... ซึ่งเพิ่มขึ้น/ลดลง กว่าปีที่ผ่านมา............

 

การจัดทำแปลงนา เพื่อสร้างการเรียนรู้เบิกนาใหม่ ในพื้นที่สาธารณะ ม.1 ตำบลนา หมื่นศรี 1 มิ.ย. 2565 10 มิ.ย. 2566

 

การจัดทำแปลงนาเพื่อการเรียนรู้เบิกนาใหม่ ณ ต.บ้านโพธิ์

 

จัดทำแปลงนาบุกเบิกใหม่ ที่มีกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนเครือข่ายกลุ่มทำนา ต.นาโยงเหนือ โดยการปรับสภาพพื้นที่ดินให้เหมาะสมแก่การปลูกข้าวเบายอดม่วง ซึ่งเป็นข้าวพื้นเมืองจังหวัดตรัง ในพื้นที่ 7 ไร่ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1.การจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวเบายอดม่วงให้เพียงต่อพื้นที่ในการปลูก จำนวน 24 กิโลกรัมที่ผ่านการคัดเลือกอย่างมีคุณภาพ จากแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ที่น่าเชื่อถือ 2.การเตรียมเมล็ดพันธุ์ นำเมล็ดใส่กระสอบและแช่น้ำไว้ 12-24 ชม. จากนั้นสะเด็ดน้ำประมาณ....เพื่อให้เมล็ดข้าวงอก 3.การนำเมล็ดข้าวลงดินด้วยการหว่าน ในช่วง...... ซึ่งต้องมีการควบคุมระดับให้เหมาะสม โดยตามบริบทสภาพพื้นที่แปลงนา ได้รับน้ำจาก...4.การดูแลใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ในช่วง.... รวมถึงการกำจัดวัชพืช ศัตรูพืช และโรคพืช ซึ่งผลผลิตที่ได้..... และพบปัญหาอุสรรค คือ...... ควรปรับปรุง...... เพื่อนำไปปรับใช้ในการเพาะปลูกฤดูกาลถัดไป

 

ธนาคารเมล็ด พันธุ์ข้าวตำบลนาหมื่นศรี 1 มิ.ย. 2565 15 ก.ค. 2566

 

-

 

-

 

การวิเคราะห์ ตัวอย่างข้าวที่ปลูกในพื้นที่เพื่อ รับรองความปลอดภัยโดย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ตรัง 1 มิ.ย. 2565

 

 

 

 

 

ปฐมนิเทศโครงการย่อย 1 มิ.ย. 2565 2 มิ.ย. 2565

 

ประชุมปฐมนิเทศและร่วมกิจกรรมบันทึกความร่วมมือ (MOU) เพื่อการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะพื้นที่จังหวัดตรัง ตรังเมืองแห่งความสุข เมืองคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืนความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต "ข้าว" ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนีตรัง

 

  • ตัวแทนคณะทำงาน คือ นางเพรียงใจ ชุมนาค ได้เข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการย่อยร่วมกับ Node Flagship จังหวัดตรัง ทำให้เข้าใจแนวทางการดำเนินงานของ Node Flagship จังหวัดตรัง ซึ่งมีประเด็นยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติข้าวตรัง
  • คณะทำงานได้ทำความเข้าใจบันไดผลลัพธ์โครงการความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤติข้าวตรัง ผลลัพธ์ กิจกรรม และตัวชี้วัดสำคัญ
  • คณะทำงานได้ทำความเข้าใจระเบียบการเงิน ระบบการรายงาน www.happynetwork.org รวมถึงการบันทึกความร่วมมือ MOU ร่วมกับหน่วยงานภาคีภาครัฐ ภาควิชาการ ภาคภาคประชาชน

 

นิทรรศการ 1 มิ.ย. 2565 1 มิ.ย. 2565

 

จัดทำนิทรรศการเพื่อให้ความรู้แก่ชาวบ้าน หรือผู้ที่สนใจในประเด็นความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต ณ วัดไร่พรุ จังหวัดตรัง

 

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งชาวบ้านในพื้นที่ คณะสงฆ์ เครือข่ายสถานศึกษา นักเรียน โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง เป็นผู้เปิดกิจกรรม.... เรียนรู้ในเรื่องคุณประโยชน์ของข้าวเบายอดม่วง ซึ่งเป็นข้าวพื้นเมือง และได้รับการส่งเสริมให้มีการปลูกในพื้นที่จังหวัดตรัง รวมถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือวิสาหกิจชุมชน และการเกษตรปลอดสารเคมีของโรงเรียนต้นบากราษฏร์บำรุง

 

ประชุม คณะกรรมการความมั่นคงทาง อาหารในภาวะวิกฤต ข้าว ตำบลนาหมื่นศรี ครั้งที่ 1 4 ก.ค. 2565 4 ก.ค. 2565

 

แต่งตั้งคณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วย อปท. รพ.สต. ผู้นำท้องที่ ปราชญ์ชาวบ้าน ฯลฯ โดยการประชุมคณะกรรมการอย่างน้อย 3 ครั้งตลอดการดำเนินโครงการ ณ อบต.นาหมื่นศรี อ.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม 17 คน ประกอบด้วย สำนักงานเกษตรอำเภอนาโยง-นางจรัสศรี แก้วนิลประเสร็จ, สถานศึกษา-นายพิทยา หวานขัน และนางชนาภา สุระกุล, รพ.สต.นาหมื่นศรี-นางจตุพร อ่อนรู้ที่, หน่วยจัดการที่มีจุดเน้นระดับจังหวัด (Node Flagship Trang)-นางสุวณี สมาธิ, นายทวี สัตยาไชย และนางสาวสริตา หันหาบุญ รวมถึงคณะทำงาน ต.นาหมื่นศรี โดยมีวิทยากร คือ นายเอกราช แก้วนางโอ นักวิชาการเกษตรศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ได้พูดคุยและแลกเปลี่ยน ประเด็น 1.การแต่งตั้งคณะกรรรม ซึ่งประกอบด้วย.....

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 13 ส.ค. 2565 13 ส.ค. 2565

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1 เพื่อชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ การจัดทีมงานคณะทำงาน เตรียมการวางแผนการดำเนินโครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี รวมถึงประชุมคณะทำงาน รวบรวมข้อมูลเกษตรกรทำนาข้าว เพื่อเป็นฐานข้อมูลเกษตรกรทำนาตำบลนาหมื่นศรี ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน และพี่เลี้ยงโครงการ-นายสำราญ สมาธิ ได้ชี้แจงทำความเข้าใจโครงการ การจัดทีมงานคณะทำงาน เตรียมการวางแผนการดำเนินโครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี การเก็บรวบรวมข้อมูลเกษตรกรทำนาข้าว เพื่อเป็นฐานข้อมูลเกษตรกรทำนาตำบลนาหมื่นศรี สำหรับการวิเคราะห์ความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังในระดับตำบลต่อไป

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 4 1 ก.ย. 2565 17 ส.ค. 2566

 

ประชุมคณะทำงาน ครั้ง 4 ในประเด็น 1..... 2...... 3...... รวมถึงการจัดเตรียม/ติดตามความก้าวหน้ากิจกรรมโครงการ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 12 คน ทำให้เกิด......

 

ARE ครั้งที่ 1 1 ก.ย. 2565 19 พ.ย. 2565

 

ร่วมสะท้อนผลลัพธ์ระดับจังหวัด ในการประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ยกระดับการพัฒนา ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมประเด็นความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต ข้าว ณ วิทยาลัยบรมราชชนนีตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 2 คน คือ นางพิมลนาฏ เสนี ผู้รับผิดชอบโครงการ และนางสมจิตร ฤทธิมา คณะทำงานเครือข่ายนาข้าว ต.นาหมื่นศรี  พูดคุยประเด็นปัญหาที่พบระหว่างการดำเนินกิจกรรมของโครงการ เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง และความก้าวหน้าของการดำเนินงานในแต่ละโครงการย่อย รวมถึงการแลกเปลี่ยน เสนอแนวคิดการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ร่วมกับคณะทำงานโครงการย่อยนาข้าวทั้ง 11 พื้นที่

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 2 11 ก.ย. 2565 11 ก.ย. 2565

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 2 ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินโครงการ กำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรมการดำเนินการ ณ โรงสีข้าวชุมชน ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 10 คน ในการประชุมคณะทำงานโครงการครั้งที่ 2 โดยพี่เลี้ยงโครงการ คือ นายสำราญ สมาธิ พี่เลี้ยงในการดำเนินกิจกรรมโครงการ ต.นาหมื่นศรี และนางสุวณี สมาธิ ผู้จัดการหน่วยจัดการระดับจังหวัดที่มีจุดเน้นสำคัญ จังหวัดตรัง ร่วมกันจัดทำแผนการดำเนินโครงการ คือ...... และกำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรมการดำเนินการ ดังนี้ 1.ผู้รับผิดชอบโครงการ-นางพิมลนาฎ เสนี 2.ประชาสัมพันธ์-นางเพรียงใจ ชุมนาค 3.กรรมการ-นางจะเรียม นิลลออ,นางสมจิตร ฤทธิมา, นายเจริญ ศรนรายณ์ 4.บัญชี-นางสาวอารีรัตน์ แสงอาทิตย์

 

พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 1 16 ก.ย. 2565 17 ก.ย. 2565

 

อบรมการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการย่อยในการใช้ระบบ Happy Network เพื่อรายงานกิจกรรมและบันทึกกรายงานการเงิน รวมถึงการใช้โปรแกรม CANVA ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 2 คน คือ นางพิมลนาฏ เสนี ผู้รับผิดชอบโครงการนาข้าว ต.นาหมื่นศรี และนางเพรียงใจ ชุมนาค ซึ่งจากการอบรม ทำให้คณะทำงานเข้าใจการใช้ระบบ HappyNetwork เพื่อบันทึกข้อมูลทั้งการรายงานกิจกรรมและการเงินของโครงการ อีกทั้งยังเพิ่มศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ อาทิโปรแกรม CANVA ที่เป็นตัวช่วยในการสร้างสรรค์สื่อเพื่อการนำเสนอที่หลากหลายรูปแบบยิ่งขึ้น

 

ป้ายปลอดบุหรี่ 20 ก.ย. 2565 20 ก.ย. 2565

 

จัดทำป้ายบันไดผลลัพธ์โครงการรวมถึงป้ายเขตปลอดบุหรี่ เพื่อให้คนในพื้นที่รวมถึงผู้ที่สนใจได้รับความรู้ และเกิดความตระหนักถึงโทษของการสูบบุหรี่ต่อสุขภาพ

 

จัดทำป้ายบันไดผลลัพธ์โครงการรวมถึงป้ายเขตปลอดบุหรี่ ส่งผลให้คนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจ และให้ความสำคัญกับโทษของการสูบบุหรี่ที่ส่งผลต่อสุขภาพให้กับผู้สูบและคนรอบข้าง ก่อให้เกิดโรค อาทิ มะเร็งปอด ถุงลมโป่งพอง วัณโรค หรือภูมิแพ้ รวมถึงโรคอื่นที่จะตามมา เช่น หลอดเลือดสมองตีบ-แตก-ตาย โรคหัวใจ หรืออาจส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงแท้งได้

 

ประสานงานและจัดทำรายงานโครงการ 30 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565

 

ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เป็นภาคีเพื่อเข้าร่วมประชุม โดย นางพิมลนาฏ เสนี ผู้รับผิดชอบโครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี

 

ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานต่างๆที่เป็นภาคีเพื่อเข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย -องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น -เกษตรอำเภอผู้รับที่่ผิดชอบตำบล -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาหมื่นศรี -โรงเรียนบ้านควนสวรรค์ โรงเรียนไรงาม -กำนันหรือตัวแทน -กลุ่มนาแปลงใหญ่ -กลุ่มนาอินทรีย์ -วิสาหกิจชุมชนโรงสี -ศูนย์ข้าวชุมชนตำบล -คณะทำงานโครงการ -ภาคประชาชน

 

จัดทำบัญชี 30 ก.ย. 2565 30 ก.ย. 2565

 

นางสาวอารีรัตน์ แสงอาทิตย์ ผู้จัดทำบัญชี และบันทึกข้อมูลลงในระบบ happynetwork ในงวดที่ 1-3

 

ได้จัดทำบัญชี ลงในระบบ happynetwork ในงวดที่ 1-3 เรียบร้อยแล้ว

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 5 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 2 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

พัฒนาศักยภาพ ครั้งที่ 3 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ARE ครั้งที่ 2 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ARE ครั้งที่ 3 1 ต.ค. 2565

 

 

 

 

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 16 ต.ค. 2565 16 ต.ค. 2565

 

ประชุมเพื่อตามงาน/ติดตามความก้าวหน้ากิจกรรมโครงการ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน พูดคุยและติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรม ประเด็น....

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 6 1 พ.ย. 2565

 

 

 

 

 

การฝึกทักษะการ ผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน ครั้งที่ 1 26 พ.ย. 2565 26 พ.ย. 2565

 

การฝึกทักษะการ ผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน 1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 17 คน โดยมีวิทยากร คือ นางสาวณัฐธยาน์ มียัง อบรมการฝึกทักษะการผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน 1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 7 1 ธ.ค. 2565

 

 

 

 

 

การฝึกทักษะการ ผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน ครั้งที่ 2 20 ธ.ค. 2565 20 ธ.ค. 2565

 

1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAPและมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน โดยมีวิทยากร คือ นางสาวอุบลวรรณ ทองชั่ง อบรมให้ความรู้ ดังนี้ 1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAPและมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 8 1 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

การฝึกทักษะการ ผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน ครั้งที่ 3 20 ม.ค. 2566 20 ม.ค. 2566

 

1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAPและมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน โดยมีวิทยากร คือ นางสาวอุบลวรรณ ทองชั่ง อบรมให้ความรู้ 1.การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAPและมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐานGAP และมาตรฐานอินทรีย์

 

ศึกษาดูงานการ จัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งและยั่งยืน 26 ม.ค. 2566 26 ม.ค. 2566

 

ศึกษาดูงานการ จัดการวิสาหกิจชุมชนชาวนาพัทลุง เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนภายในเครือข่ายเกษตรกรทำนา ต.นาหมื่นศรี

 

ผู้เข้าร่วมศึกษาดูงานของโครงการจำนวน 15 คน ตามกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย จัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งและยั่งยืน-กลุ่มนาแปลงใหญ่ -กลุ่มนาอินทรีย์ 1คน -ศูนย์ข้าวชุมชนตำบล 1คน -เกษตรอำเภอผู้ที่รับผิดชอบตำบล 1คน -องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1คน -กำนันหรือตัวแทน 1คน -คณะทำงานโครงการ และประชาชนผู้ที่สนใจอีก 10 คน โรงสี วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่บ้านขาว อ.ระโนด จ.สงขลา ผู้ใหญ่ดำ ประธานวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่บ้านขาว อ.ระโนด จ.สงขลา เล่าว่า...ความจนกับชาวนา อยู่มาตั้งแต่รุ่นพ่อเฒ่า ส่งต่อมายังรุ่นพ่อรุ่นแม่ จนถึง ลูก ผมโชคดีได้เรียนหนังสือ และไปรับจ้างตัดข้าวที่อีสาน เห็นว่า ถ้าทำแต่นาไม่มีทางหายจน คนทำนา หน้าด้าน หน้าทน ขาดทุน ก็ทำ คำถามผมคือ ทำไมโรงสีไม่จน และรวยขึ้น จึงชวนเพื่อนในตำบลทำโรงสี เรื่มต้นจากเล็ก ๆ แล้วสีขายตามออเดอร์ เก็บเบี้ยจากแกลบ รำ ปลายข้าว แต่ก็เห็นว่า ช่วยคนในพื้นที่ได้ไม่ทั่วถึง เมื่อรัฐมีโครงการนาข้าวแปลงใหญ่ ได้รวมกลุ่ม ระดมทุนในการสร้างโรงสี เมื่อมีกำไรก็ปันผลให้สมาชิก สิ่งที่สมาชิกได้ คือ ข้าวมีที่รับซื้อและไม่กดราคา คนในบ้านก็ได้กินข้าวปลอดภัย ..ความฝันที่จะมีโรงสีใหญ่ ก็เกิดขึ้น ว่า พวกเราระโนด สทิงพระ ทำนากันจังเสีย ทำอย่างไรให้ ชาวนาอยู่ให้ได้ จึงเสนอโครงการโรงสีของบประมาณจากหน่วยงานราชการ จนก่อสร้างและเปิดใช้ ขณะนี้โรงสีมีคนทำงานประจำ 2 คน และทำงานช่วงวันเสาร์-อาทิตย์ เพราะค่าไฟฟ้า ลดครึ่งหนึ่ง การทำงานของเครื่องสี เร็วและได้ข้าวคุณภาพดี เพราะในอดีตการสีข้าว 1 ตัน โดยสีข้าวตลอดทั้งวัน ซึ่งต้องผลัดเวรกัน แต่ตอนนี้ถ้าเครื่องทำงาน 24 ชั่วโมง สีข้าวได้ถึง 40 ตัน คนทำงานมีเวลาที่จะทำหน้าที่อื่น เช่น บรรจุถุง และส่งข้าว "สีใหม่ ขายสด"..ไม่ใช้ยากันมอด กันรา สีแล้วต้องส่งให้ถึงมือคนกิน ได้เร็ว ตามออเดอร์ของลูกค้า การรับซื้อข้าวเปลือกจากสมาชิกจะจ่ายเงินสด จากนั้นนำมาอบเก็บที่อุณหภูมิ....องศาเซลเซียล โดยพบว่าผู้บริโภคชอบข้าวหอมมะลิ 105 ซึ่งพื้นที่ไม่สามารถปลูกเองได้ จึงต้องซื้อข้าวเปลือกจากเครือข่ายฯ ของภาคอีสาน แต่มีปัญหา คือ ไม่สามารถควบคุมดูแลกระบวนการปลูกข้าว รวมถึงต้นทุนการรับซื้อข้าวน้อย จึงต้องมีการปรับและหาความรู้เพิ่มเติม โดยโรงสีข้าวจังหวัดพัทลุง ได้รับความร่วมมือจากผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา และส่วนราชการ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องและช่วยเหลือชาวนาอย่างเต็มที่ ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ 1... 2... 3... 4... 5....

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 9 1 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 10 1 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

พัฒนาโรงสีข้าวชุมชนสู่มาตรฐานปลอดภัย 20 ส.ค. 2566 20 ส.ค. 2566

 

การพัฒนาโรงสีข้าวชุมชนสู่มาตรฐานปลอดภัย เพื่อเพิ่มคุณภาพของข้าวที่สี จากโรงสีภายในชุมชน ประชาชนภายในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีขึ้น เกิดความมั่นใจ เห็นถึงประโยชน์ข้าวตรัง และหันมาบริโภคข้าวภายในตำบลมากยิ่งขึ้น

 

จากข้อมูลพบว่า ต.นาหมื่นศรี มีเนื้อที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นา เกษตรกรที่ปลูกข้าวส่วนใหญ่จะปลูกข้าวเพื่อการบริโภคภายในครัวเรือน และส่วนที่เหลือจากการบริโภคจะจำหน่ายให้กับคนในชุมชม ที่ขายในราคา....โดยถูกกว่าราคาในตลาด ซึ่งในการเพิ่มมูลค่าทั้งในแง่ของสุขภาวะ ของผู้บริโภคและการตลาดของข้าวเปลือกหลังจากการเก็บเกี่ยวในแต่ละปี คือ การนำข้าวเปลือกมาทำเป็นข้าวสาร โดยปัจจัยหนึ่งที่สำคัญ คือ โรงสีข้าวที่มีคุณภาพ ต.นาหมื่นศรี พบปัญหา คือ 1.เมื่อสีข้าวจากโรงสีภายในชุมชน ข้าวสารที่ได้จะมีการปนของเศษหิน ดิน ขยะอื่น ๆ จึงไม่สามารถบริโภคได้ทันที 2.......3...... จึงได้มีการจัดซื้อวัสดุ ในการพัฒนาโรงสีข้าวเพื่อยกระดับคุณภาพของข้าวภายในชุมชน