task_alt

โครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ โครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี

ชุมชน ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0024 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน ตุลาคม 2565 ถึงเดือน มกราคม 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3

วันที่ 16 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน พูดคุยและติดตามความก้าวหน้าการดำเนินกิจกรรม ประเด็น....

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมเพื่อตามงาน/ติดตามความก้าวหน้ากิจกรรมโครงการ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

0 0

2. ARE ครั้งที่ 1

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2565 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 2 คน คือ นางพิมลนาฏ เสนี ผู้รับผิดชอบโครงการ และนางสมจิตร ฤทธิมา คณะทำงานเครือข่ายนาข้าว ต.นาหมื่นศรี  พูดคุยประเด็นปัญหาที่พบระหว่างการดำเนินกิจกรรมของโครงการ เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขจุดบกพร่อง และความก้าวหน้าของการดำเนินงานในแต่ละโครงการย่อย รวมถึงการแลกเปลี่ยน เสนอแนวคิดการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ร่วมกับคณะทำงานโครงการย่อยนาข้าวทั้ง 11 พื้นที่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ร่วมสะท้อนผลลัพธ์ระดับจังหวัด ในการประเมินผลลัพธ์เพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ยกระดับการพัฒนา ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมประเด็นความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤต ข้าว ณ วิทยาลัยบรมราชชนนีตรัง

 

0 0

3. การฝึกทักษะการ ผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน ครั้งที่ 1

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 17 คน โดยมีวิทยากร คือ นางสาวณัฐธยาน์ มียัง อบรมการฝึกทักษะการผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน 1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การฝึกทักษะการ ผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน 1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

30 0

4. การฝึกทักษะการ ผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน ครั้งที่ 2

วันที่ 20 ธันวาคม 2565 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน โดยมีวิทยากร คือ นางสาวอุบลวรรณ ทองชั่ง อบรมให้ความรู้ ดังนี้ 1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAPและมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAPและมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

20 0

5. การฝึกทักษะการ ผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ และการขึ้นทะเบียน ครั้งที่ 3

วันที่ 20 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน โดยมีวิทยากร คือ นางสาวอุบลวรรณ ทองชั่ง อบรมให้ความรู้ 1.การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAPและมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐานGAP และมาตรฐานอินทรีย์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.อบรมให้ความรู้การผลิตข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAPและมาตรฐานอินทรีย์ 2.การขึ้นทะเบียนข้าวปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP และมาตรฐานอินทรีย์ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

30 0

6. ศึกษาดูงานการ จัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งและยั่งยืน

วันที่ 26 มกราคม 2566 เวลา 07:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมศึกษาดูงานของโครงการจำนวน 15 คน ตามกลุ่มเป้าหมายประกอบด้วย จัดการวิสาหกิจชุมชนเพื่อสร้าง ความเข้มแข็งและยั่งยืน-กลุ่มนาแปลงใหญ่ -กลุ่มนาอินทรีย์ 1คน -ศูนย์ข้าวชุมชนตำบล 1คน -เกษตรอำเภอผู้ที่รับผิดชอบตำบล 1คน -องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1คน -กำนันหรือตัวแทน 1คน -คณะทำงานโครงการ และประชาชนผู้ที่สนใจอีก 10 คน โรงสี วิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่บ้านขาว อ.ระโนด จ.สงขลา ผู้ใหญ่ดำ ประธานวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่บ้านขาว อ.ระโนด จ.สงขลา เล่าว่า...ความจนกับชาวนา อยู่มาตั้งแต่รุ่นพ่อเฒ่า ส่งต่อมายังรุ่นพ่อรุ่นแม่ จนถึง ลูก ผมโชคดีได้เรียนหนังสือ และไปรับจ้างตัดข้าวที่อีสาน เห็นว่า ถ้าทำแต่นาไม่มีทางหายจน คนทำนา หน้าด้าน หน้าทน ขาดทุน ก็ทำ คำถามผมคือ ทำไมโรงสีไม่จน และรวยขึ้น จึงชวนเพื่อนในตำบลทำโรงสี เรื่มต้นจากเล็ก ๆ แล้วสีขายตามออเดอร์ เก็บเบี้ยจากแกลบ รำ ปลายข้าว แต่ก็เห็นว่า ช่วยคนในพื้นที่ได้ไม่ทั่วถึง เมื่อรัฐมีโครงการนาข้าวแปลงใหญ่ ได้รวมกลุ่ม ระดมทุนในการสร้างโรงสี เมื่อมีกำไรก็ปันผลให้สมาชิก สิ่งที่สมาชิกได้ คือ ข้าวมีที่รับซื้อและไม่กดราคา คนในบ้านก็ได้กินข้าวปลอดภัย ..ความฝันที่จะมีโรงสีใหญ่ ก็เกิดขึ้น ว่า พวกเราระโนด สทิงพระ ทำนากันจังเสีย ทำอย่างไรให้ ชาวนาอยู่ให้ได้ จึงเสนอโครงการโรงสีของบประมาณจากหน่วยงานราชการ จนก่อสร้างและเปิดใช้ ขณะนี้โรงสีมีคนทำงานประจำ 2 คน และทำงานช่วงวันเสาร์-อาทิตย์ เพราะค่าไฟฟ้า ลดครึ่งหนึ่ง การทำงานของเครื่องสี เร็วและได้ข้าวคุณภาพดี เพราะในอดีตการสีข้าว 1 ตัน โดยสีข้าวตลอดทั้งวัน ซึ่งต้องผลัดเวรกัน แต่ตอนนี้ถ้าเครื่องทำงาน 24 ชั่วโมง สีข้าวได้ถึง 40 ตัน คนทำงานมีเวลาที่จะทำหน้าที่อื่น เช่น บรรจุถุง และส่งข้าว "สีใหม่ ขายสด"..ไม่ใช้ยากันมอด กันรา สีแล้วต้องส่งให้ถึงมือคนกิน ได้เร็ว ตามออเดอร์ของลูกค้า การรับซื้อข้าวเปลือกจากสมาชิกจะจ่ายเงินสด จากนั้นนำมาอบเก็บที่อุณหภูมิ....องศาเซลเซียล โดยพบว่าผู้บริโภคชอบข้าวหอมมะลิ 105 ซึ่งพื้นที่ไม่สามารถปลูกเองได้ จึงต้องซื้อข้าวเปลือกจากเครือข่ายฯ ของภาคอีสาน แต่มีปัญหา คือ ไม่สามารถควบคุมดูแลกระบวนการปลูกข้าว รวมถึงต้นทุนการรับซื้อข้าวน้อย จึงต้องมีการปรับและหาความรู้เพิ่มเติม โดยโรงสีข้าวจังหวัดพัทลุง ได้รับความร่วมมือจากผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา และส่วนราชการ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องและช่วยเหลือชาวนาอย่างเต็มที่ ซึ่งผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เรียนรู้ 1... 2... 3... 4... 5....

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ศึกษาดูงานการ จัดการวิสาหกิจชุมชนชาวนาพัทลุง เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยั่งยืนภายในเครือข่ายเกษตรกรทำนา ต.นาหมื่นศรี

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 33 15                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 41,524.80                  
คุณภาพกิจกรรม 60                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางพิมลนาฏ เสนี
ผู้รับผิดชอบโครงการ