task_alt

โครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 3

ชื่อโครงการ โครงการสร้างความมั่นคงทางอาหารข้าวตรังปลอดภัยในภาวะวิกฤติตำบลนาหมื่นศรี

ชุมชน ตำบลนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

รหัสโครงการ 65-00-0144-0024 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

รายงานงวดที่ : 3 จากเดือน กุมภาพันธ์ 2566 ถึงเดือน กันยายน 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เวทีจัดทำข้อตกลง ความมั่นคงทางอาหารข้าว ตำบลนาหมื่นศรี

วันที่ 1 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 20 คน โดยมีวิทยากร คือนางสาวณัฐธยาน์ มียัง เสวนาในประเด็น 1....2.... 3....โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความรู้ความเข้าใจ วิเคราะห์ข้อมูลประเด็นความทางอาหารของข้าวในระดับตำบล ต.นาหมื่นศรี พบว่า ด้านการผลิตข้าว ในพื้นที่มีการปลูกข้าวจำนวน....ไร่ ได้ผลผลิต....กิโลกรัม สามารถคำนวณเป็นข้าวสาร ทั้งหมด โดยมีการจำหน่ายข้าวที่ปลูกเอง จำนวน...แห่ง จากข้อมูลพื้นฐาน ต.นาหมื่นศรี มีประชากร 6,995 คน คำนวณความต้องการของผู้บริโภคใน 1 ปี เท่ากับ 580.58 ตัน ดังนั้นข้าวที่ผลิตภายในตำบลเปรัยบเทียบกับข้าวที่บริโภคภายในตำบลได้ในร้อยละ.... ซึ่งเพิ่มขึ้น/ลดลง กว่าปีที่ผ่านมา............

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

เตรียมการประสานงานภาคีต่าง ๆ โดยมีการเสวนาระดมความคิดเห็นร่วมกับคณะทำงาน เครือข่ายเกษตรกรทำนา ผู้นำท้องถิ่น และองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในประเด็นความมั่นคงทางอาหารในภาวะวิกฤตโควิด รวมถึงกำหนดแผนการดำเนินงานตามข้อตกลงร่วมกัน และจัดทำฐานข้อมูลความมั่นคงทางอาหารข้าวของตำบล ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

0 0

2. การจัดทำแปลงนา เพื่อสร้างการเรียนรู้เบิกนาใหม่ ในพื้นที่สาธารณะ

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จัดทำแปลงนาบุกเบิกใหม่ ที่มีกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนเครือข่ายกลุ่มทำนา ต.นาโยงเหนือ โดยการปรับสภาพพื้นที่ดินให้เหมาะสมแก่การปลูกข้าวเบายอดม่วง ซึ่งเป็นข้าวพื้นเมืองจังหวัดตรัง ในพื้นที่ 7 ไร่ ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1.การจัดการเมล็ดพันธุ์ข้าวเบายอดม่วงให้เพียงต่อพื้นที่ในการปลูก จำนวน 24 กิโลกรัมที่ผ่านการคัดเลือกอย่างมีคุณภาพ จากแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ที่น่าเชื่อถือ 2.การเตรียมเมล็ดพันธุ์ นำเมล็ดใส่กระสอบและแช่น้ำไว้ 12-24 ชม. จากนั้นสะเด็ดน้ำประมาณ....เพื่อให้เมล็ดข้าวงอก 3.การนำเมล็ดข้าวลงดินด้วยการหว่าน ในช่วง...... ซึ่งต้องมีการควบคุมระดับให้เหมาะสม โดยตามบริบทสภาพพื้นที่แปลงนา ได้รับน้ำจาก...4.การดูแลใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ในช่วง.... รวมถึงการกำจัดวัชพืช ศัตรูพืช และโรคพืช ซึ่งผลผลิตที่ได้..... และพบปัญหาอุสรรค คือ...... ควรปรับปรุง...... เพื่อนำไปปรับใช้ในการเพาะปลูกฤดูกาลถัดไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การจัดทำแปลงนาเพื่อการเรียนรู้เบิกนาใหม่ ณ ต.บ้านโพธิ์

 

0 0

3. ธนาคารเมล็ด พันธุ์ข้าวตำบลนาหมื่นศรี

วันที่ 15 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

-

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

-

 

0 0

4. ประชุม คณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 4

วันที่ 17 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน 12 คน ทำให้เกิด......

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมคณะทำงาน ครั้ง 4 ในประเด็น 1..... 2...... 3...... รวมถึงการจัดเตรียม/ติดตามความก้าวหน้ากิจกรรมโครงการ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ต.นาหมื่นศรี อ.นาโยง จ.ตรัง

 

0 0

5. พัฒนาโรงสีข้าวชุมชนสู่มาตรฐานปลอดภัย

วันที่ 20 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

จากข้อมูลพบว่า ต.นาหมื่นศรี มีเนื้อที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่นา เกษตรกรที่ปลูกข้าวส่วนใหญ่จะปลูกข้าวเพื่อการบริโภคภายในครัวเรือน และส่วนที่เหลือจากการบริโภคจะจำหน่ายให้กับคนในชุมชม ที่ขายในราคา....โดยถูกกว่าราคาในตลาด ซึ่งในการเพิ่มมูลค่าทั้งในแง่ของสุขภาวะ ของผู้บริโภคและการตลาดของข้าวเปลือกหลังจากการเก็บเกี่ยวในแต่ละปี คือ การนำข้าวเปลือกมาทำเป็นข้าวสาร โดยปัจจัยหนึ่งที่สำคัญ คือ โรงสีข้าวที่มีคุณภาพ ต.นาหมื่นศรี พบปัญหา คือ 1.เมื่อสีข้าวจากโรงสีภายในชุมชน ข้าวสารที่ได้จะมีการปนของเศษหิน ดิน ขยะอื่น ๆ จึงไม่สามารถบริโภคได้ทันที 2.......3...... จึงได้มีการจัดซื้อวัสดุ ในการพัฒนาโรงสีข้าวเพื่อยกระดับคุณภาพของข้าวภายในชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

การพัฒนาโรงสีข้าวชุมชนสู่มาตรฐานปลอดภัย เพื่อเพิ่มคุณภาพของข้าวที่สี จากโรงสีภายในชุมชน ประชาชนภายในชุมชนมีสุขภาวะที่ดีขึ้น เกิดความมั่นใจ เห็นถึงประโยชน์ข้าวตรัง และหันมาบริโภคข้าวภายในตำบลมากยิ่งขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 33 20                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 120,000.00 89,919.80                  
คุณภาพกิจกรรม 80                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางพิมลนาฏ เสนี
ผู้รับผิดชอบโครงการ