directions_run

โครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node โควิค ภาคใต้


“ โครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ”

บ้านหัวนอนวัด ม.3 ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์

ชื่อโครงการ โครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ บ้านหัวนอนวัด ม.3 ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-10018-31 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2022 ถึง 31 สิงหาคม 2023


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน บ้านหัวนอนวัด ม.3 ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node โควิค ภาคใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ บ้านหัวนอนวัด ม.3 ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-10018-31 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2022 - 31 สิงหาคม 2023 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก Node โควิค ภาคใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จังหวัดสงขลา ประกอบด้วย 16 อำเภอ 127 ตำบล มีประชากร 1,435,968 คน แบ่งออกเป็นเพศชาย จำนวน 700,411 คน เพศหญิง จำนวน 735,527 คน ในจำนวนนี้แบ่งออกเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุ 60 ปีขึ้น จำนวน 219,472 คน คิดเป็นร้อยละ 15.6 (สำนักงานสถิติสงขลา, 2563) จังหวัดสงขลาจึงนับเป็นจังหวัดที่กำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ในขณะที่อำเภอบางกล่ำซึ่งเป็นอำเภอขนาดเล็กในจังหวัดสงขลา มีครัวเรือน 13,116 ครัวเรือน และมีประชากร จำนวน 31,780 คน ในจำนวนนี้เป็นผู้สูงอายุ ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 4,590 คน คิดเป็นร้อยละ 14.44 และมีคนที่กำลังเข้าสู่วัยผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 55-59 ปี จำนวน 1,951 คน และจากข้อมูลใน Application iMed@home ที่สำรวจโดยเครือข่ายภาคประชาสังคมและมูลนิธิชุมชนสงขลา พบจำนวนผู้ยากลำบากในพื้นที่จังหวัดสงขลา จำนวน 4,268 คน ซึ่งประชากรกลุ่มนี้กำลังจะกลายเป็นบุคคลที่เข้าสู่ภาวะพึ่งพิง ต้องได้รับการช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน ด้วยการสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านที่อยู่อาศัย ด้านอาชีพ และด้านสุขภาพ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในประเทศไทย รวมทั้งในพื้นที่ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ทำให้มีผู้ได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมจากการแพร่ระบาดของโรคเป็นจำนวนมาก ทั้งด้านการท่องเที่ยวชุมชนที่เป็นเรื่องเด่นของพื้นที่นักท่องเที่ยวไม่สามารถมาเที่ยวชมและซื้อสินค้าในชุมชนซึ่งเป็นรายได้อีกช่องทางหนึ่งของชาวบ้านคนในพื้นที่ ทั้งเกิดภาวะการว่างงานของคนหนุ่มสาวบุตรหลานของผู้สูงอายุ ทำให้ผู้ว่างงานส่วนใหญ่หันมาทำเกษตรในพื้นที่ของตนเอง เพื่อสร้างรายได้ แต่ด้วยผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาดและวิกฤตเศรษฐกิจในปัจจุบัน ทำให้เกิดปัญหาติดขัดทั้งในเรื่องการใช้ชีวิต การทำงาน และการดำเนินธุรกิจ ซึ่งต้นทุนที่สูงขึ้น ส่งผลให้มีผลผลิตน้อยลง จากเดิมการทำเกษตรปลูกพืชได้หลากหลาย ต้องปลูกพืชที่มีความต้องการของตลาดและมีต้นทุนที่สูง รายได้ก็น้อยลงทำให้เกษตรกรและผู้ว่างงาน เกิดความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์การตลาดที่อาจมีแนวโน้มของปัญหาเพิ่มขึ้น จากเดิมที่มีการจำหน่ายแบบกระจายแต่ละครอบครัวบริเวณริมถนนหน้าบ้านของเกษตรกรในพื้นที่ ประมาณ 10 จุดตลอดเส้นทางนางรักนก-คูเต่า ซึ่งเป็นถนนเส้นหลักในพื้นที่ ซึ่งขายหมดบ้างไม่หมดบ้าง เกิดปัญหาผลผลิตตกค้าง และบางส่วนก็จะมีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรเพื่อรวบรวมไปจำหน่ายภายนอก ส่งผลให้รายได้กำไรตกอยู่ที่พ่อค้าคนกลาง มากกว่าเกษตรกรคนรุ่นใหม่ในพื้นที่ที่หันมาทำการเกษตร รวมทั้งการจำหน่ายรายย่อยในตลาดนัดชุมชน ซึ่งประสบปัญหาการขายได้ราคาต่ำ หรือขายไม่หมด เนื่องจากมีความซ้ำซ้อนของการผลิตผักชนิดเดียวกันที่เกินความต้องการของผู้บริโภคในชุมชนหรือบางช่วงที่ตลาดมีความต้องการผักบางชนิดแต่เกษตรกรในชุมชนไม่สามารถผลิตได้ทันหรือเพียงพอซึ่งเป็นปัญหาของการวางแผนการจัดการในการผลิต ดังนั้นโครงการ ร้านผักปลอดภัย หลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จะเป็นการแก้ไขปัญหาการขับเคลื่อนงานด้านเกษตรปลอดภัยในพื้นที่ รวมทั้งต่อยอดโครงการส่งเสริมทักษะอาชีพทางการเกษตร ผลิตอาหารปลอดภัย เพื่อคนแม่ทอมและคนบางกล่ำ เมื่อปี2564 ที่เน้นถึงความสำคัญของผู้สูงอายุ คนพิการ คนว่างงาน และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 เป็นอย่างมาก เพราะบุคคลเหล่าถือเป็นกลุ่มคนที่ควรได้รับการช่วยเหลือเยียวยาที่ตรงจุดเพื่อสามารถส่งเสริมคุณภาพชีวิตของกลุ่มคนเหล่านี้ให้มีศักยภาพเพิ่มมากขึ้น ด้วยการส่งเสริมทักษะด้านอาชีพในการทำการเกษตรและเพื่อหนุนเสริมในการแก้ไขปัญหาราคาผลผลิตผักปลอดสารที่ตกต่ำ การวางแผนทางการตลาด การสร้างแหล่งรวบรวมและจัดจำหน่ายผักปลอดภัย ในรูปแบบกลุ่มวิสาหกิจชุมชนร้านผักปลอดภัย เพื่อเพิ่มการต่อรองและกำหนดราคาผักปลอดภัยของชุมชน สร้างรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของกลุ่มเป้าหมาย ผู้สูงอายุ คนพิการ คนว่างงาน เกษตรกรและผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19 ในพื้นที่ ให้มีศักยภาพเพิ่มมากขึ้น ด้วยการส่งเสริมทักษะด้านอาชีพในการทำการเกษตร เพื่อเป็นอาชีพที่จะสามารถสร้างรายได้ ความมั่นคงทางอาหาร รวมทั้งการพัฒนาสร้างพื้นที่เรียนรู้ศูนย์ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านผักปลอดภัย ในพื้นที่ โดยอาศัยความร่วมมือของภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เพื่อเสริมองค์ความรู้ พัฒนาทักษะ สนับสนุนเครื่องมือต่าง ๆ พร้อมทั้งขับเคลื่อนการทำงานร่วมกับสำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ พัฒนาชุมชนอำเภอบางกล่ำ องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทอม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ทอม สหกรณ์การเกษตรบางกล่ำ สวนปันสุข กลุ่มวิสาหกิจท่องเที่ยวลุ่มน้ำคลองอู่ตะเภาตอนล่าง ตลาดเกษตร ม.อ. เป็นต้น เพื่อพัฒนาการบริหารจัดการภายในกลุ่ม ในด้านการผลิต จำหน่ายผักปลอดภัย ผลผลิตทางการเกษตร หรือแม้แต่การร่วมมือกับเครือข่ายในพื้นที่ต่างๆในการนำผลผลิต ผลิตภัณฑ์ของเครือข่ายมาว่างจำหน่าย ผ่าน ร้านผักปลอดภัย หลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ภายใต้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตวิถีใหม่
  2. 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตวิถีใหม่
  3. 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการจัดการ ผลักดันการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจและต่อยอดสู่ตลาดชุมชน
  4. 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการจัดการ ผลักดันการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจและต่อยอดสู่ตลาดชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ และ สสส.
  2. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน ก่อนและหลังดำเนินกิจกรรม ทุก 2 เดือน และสื่อสารการทำงานผ่านกลุ่มไลน์อย่างสม่ำเสมอ
  3. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานทำความเข้าใจภาพรวมโครงการพร้อมจัดตั้งคณะทำงานกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนในการขับเคลื่อนโครงการ
  4. กิจกรรมที่ 3 ลงพื้นที่สำรวจกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเชิญชวนคนในชุมชนที่เป็นพื้นที่เป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
  5. กิจกรรมที่ 4 เวทีชี้แจงการวัตถุประสงค์ของโครงการร่วมกับผู้เข้าร้วมโครงการเพื่อหาแนวทางสร้าง กติการ่วมกัน กับภาคีเครือข่ายในพื้นที่
  6. กิจกรรมที่ 5 ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ปัญหา อุปสรรค เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการ
  7. เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 พื้นที่ภาคใต้
  8. กิจกรรมที่ 9 อบรมผลิตสื่อ Online เพื่อการตลาด เปิดช่องทางการขยายตลาดที่หลากหลายมากขึ้น
  9. กิจกรรมที่ 6 อบรมให้ความรู้จัดทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิกกลุ่ม เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการรายรับรายจ่ายของครัวเรือนตัวเอง
  10. กิจกรรมที่ 10 เวทีประชุมจัดทำปฏิทินผลผลิตทางการเกษตร และแผนเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติวิถีชีวิตของพื้นที่
  11. กิจกรรมที่ 8 การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น
  12. กิจกรรมที่ 7 การอบรมการทำสารไล่แมลงจากสมุนไพร / สารปรับปรุงดิน เป็นการให้ให้ความการทำสารไล่แมลงจากสมุนไพร และสารปรับปรุงดิน เพื่อประหยัดต้นทุนในการซื้อและปลอดภัยต่อสุขภาพ
  13. กิจกรรมที่ 12 พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่ และพัฒนาปรับภูมิทัศน์ สร้างร้านค้าผักปลอดภัยในชุมชน
  14. กิจกรรมที่ 11 จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและแผนการตลาด
  15. กิจกรรมที่ 13 ประชุมถอดบทเรียน และสรุปผลการดำเนินงาน
  16. ปฐมนิเทศ
  17. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนกันยายน 2565 (ครั้งที่ 1)
  18. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน จากพี่้เลี้ยงโครงการ หลาด100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ต.แม่ทอม
  19. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565 (ครั้งที่ 2)
  20. อบรมการรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน
  21. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนมกราคม 2565 (ครั้งที่ 3)
  22. ประชุมติดตาม ประเมินโครงการ ARE
  23. กิจกรรมถอนเงินออกจากบัญชี
  24. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนมีนาคม 2565 (ครั้งที่ 4)
  25. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนพฤษภาคม 2565 (ครั้งที่ 5)
  26. ประชุมติดตาม ประเมินโครงการ ARE ครั้งที่ 2
  27. งบบริหารโครงการ
  28. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนกรกฎาคม 2565 (ครั้งที่ 6)
  29. พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบการเงิน
  30. งบบริหารโครงการ จัดทำรายงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
คณะทำงานโครงการ 5
ผู้สูงอายุ คนพิการ คนว่างงาน และผู้ที่ได้รับผลกระท 25

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการ ระดับหน่วยจัดการ

วันที่ 17 กันยายน 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ผู้ประสานงาน นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร บัญชีการเงิน ได้ร่วมอบรมการเรียนรู้สัญญาโครงการ การบริหารโครงการ รายละเอียดกิจกรรม วิธีเก็บตัวชีวัด ทำแผนปฏิทินกิจกรรม เรียนรู้เว๊ปไซค์ คนสร้างสุข การจัดการบันทึกการเงิน และการทำงานบัญชีโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ผู้ประสานงาน นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร มีความรู้เรื่อง การเรียนรู้สัญญาโครงการ การบริหารโครงการ รายละเอียดกิจกรรม วิธีเก็บตัวชีวัด ทำแผนปฏิทินกิจกรรม เรียนรู้เว๊ปไซค์ คนสร้างสุข การจัดการบันทึกการเงิน และการทำงานบัญชีโครงการ สามารถกลับบริหารจัดการโครงการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

 

2 0

2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานทำความเข้าใจภาพรวมโครงการพร้อมจัดตั้งคณะทำงานกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนในการขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 28 กันยายน 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานชี้แจงโครงการ เพื่อทำความเข้าใจ พร้อมทั้งแนวทางในการขับเคลื่อนโครงการ พร้อมจัดตั้งคณะทำงานกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนในการขับเคลื่อนโครงการ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เกิดคณะทำงานจำนวน 5 ท่าน ที่ได้กำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจนในการบริการโครงการ ประกอบด้วย ด้วย
  1. นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ รับผิดชอบโครงการดูภาพรวมของโครงการ
  2. นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร รับผิดชอบ บัญชี การเงิน รายงานกิจกรรม
  3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ รับผิดชอบ ในการประสานงาน กลุ่มเป้าหมาย/เก็บข้อมูล
  4. นายธนบดี เจริญผล รับผิดชอบ งานสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ช่องทางการตลาด
  5. นางสาวศุภสุตา แสงมณี รับผิดชอบ เก็บข้อมูล ทำสื่อประชาสัมพันธ์ ช่วยงานบัญชีการเงิน
  6. นายชาญวิทูร สุขสว่างไกร ที่ปรึกษาโครงการ กำหนดเป้าหมาย เพื่อให้บรรลุผลตามตัวชี้วัดของโครงการ
  • คณะทำงานทุกคนมีแผนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน และปฏิบัติได้ตามความสามารถของแต่ละคน โดยที่ประชุมสรุป ให้เชิญชวนแกนนำแถว 2 เพื่อมาช่วยงานในแต่ละหมู่บ้าน และคันหาเป้าหมายไปเบื้องต้น
  • ข้อเสนอในที่ประชุม ช่วงนี้เป็นช่วงฤดูฝน อาจจะไม่เหมาะสมให้กลุ่มเป้าหมายปลูกผักปลอดภัย ส่วนใหญ่การปลูกพืชผักในช่วงนี้จะเจอปัญหา เรื่องศัตรูพืช ปลูกก็ไม่ได้ผล คาดว่าหากจะเคลื่อนกิจกรรมการปลูกพืชผัก ไปก่อน ต้องผ่านฤดูฝน
  • ที่ประชุม จึงเกิดข้อสรุปว่ากิจกรรมใดที่ทำได้ก่อนก็ขับเคลื่อนไปก่อน เช่น การทำผักทอด การทำสารไล่แมลง

 

5 0

3. ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน จากพี่้เลี้ยงโครงการ หลาด100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ต.แม่ทอม

วันที่ 30 กันยายน 2022 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทางพี่เลี้ยงโครงการ หลาด100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ต.แม่ทอม มาทำความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ เพื่อให้ตรงกับตัวชี้วัด ที่กำหนดไว้ในโครงการหลาด100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการประชุมคณะทำงานได้เข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ หลาด100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา พร้อมทั้งได้กำหนดปฎิทินการปฎิบัติงาน วิธีการเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัด การแบ่งงานและหน้าที่ของแต่ละคน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพอย่างแท้จริง การสร้างเพจสื่อสารกิจกรรมของโครงการหลาด100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา เพจนั้น ได้กำหนดให้นายธนบดี เจริญผลเป็นคนรับผิดชอบ ร่วมกับทางนางสาวศุภสุตา แสงมณี เพราะเข้าใจความรู้ในเรื่องการสื่อสารออนไลน์

 

0 0

4. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนกันยายน 2565 (ครั้งที่ 1)

วันที่ 22 ตุลาคม 2022 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผูรับผิดชอบโครงการ ได้เชิญประชุมคณะทำงานหลัก ประกอบด้วยนางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร นายธนบดี เจริญผล นางสาวศุภสุดา แสงมณี ลงเชิญชวนแกนนำแถว 2 มาเข้าประชุมเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา โดยเชิญชวนแกนนำแถว 2 แต่ละหมู่บ้าน มารับฟังรายละเอียดขอโครงการ เพื่อจะได้เป็นแกนนำในแต่ละหมู่บ้านเชิญชวนกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • จากการประชุมแกนนำแถว 2 แล้ว ได้เข้าใจในรายละเอียดของโครงการ มีข้อสรุปว่าจะช่วยกันขับเคลื่อนโครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
  • แกนนำแถว 2 ได้คัดกรองบุคคลที่คาดว่าบุคคลที่สามารถเข้าโครงการ และไม่เป็นอุปสรรค ตั้งใจเข้าร่วมโครงการจริงๆ ได้ทั้งสิ้น 36 ราย แกนนำแถว 2 ต้องไปเชิญชวนและทำความเข้าใจในเบื้องต้น พร้อมกันนั้นได้มีข้อตกลงจะชวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 36 รายมารับฟังการประชุมชี้แจงโครงการในวันพฤหัสบดี ที่ 17 พฤศจิยายน 2565 ที่ทำการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า ม.3 ต.แม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ปัญหาข้อเสนอจากแกนนำ ที่เข้าร่วมประชุม
  1. กลุ่มเป้าหมายไม่อยากเข้าร่วมประชุม
  2. ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ
  3. ขาดคนช่วยปลูกผัก

 

5 0

5. อบรมการรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน

วันที่ 19 พฤศจิกายน 2022 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

โดยทางนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้มอบหมายให้นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร เลขานุการ การเงิน ไปเข้าร่วมประชุมอบรม กับทางโน๊ตโควิด สสส.
เรื่อง โครงการมีความรอบรู้และความเข้าใจ กรอบแนวคิด และการประยุกต์เกี่ยวกับความรอบรู้และความเข้าใจด้านสุขภาพ ด้าทางการเงินระดับครัวเรือน โรงแรมปาร์คอินทาวน์ จัหวัดปัตตานี ในวันที่่ 19 พฤสจิกายน 2565

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร ได้เกิดความรอบรู้และความเข้าใจ กรอบแนวคิด และการประยุกต์เกี่ยวกับความรอบรู้และความเข้าใจด้านสุขภาพ ด้าทางการเงินระดับครัวเรือน และแนวทางประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน เพื่อการนำไปใช้ในการจัดการโครงการ และอบรมให้ทางกลุ่มเป้าหมายของโครงการ ได้คู่มือ สำหรับความเข้าใจด้านสุขภาพ และการเงิน

 

0 0

6. กิจกรรมที่ 3 ลงพื้นที่สำรวจกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเชิญชวนคนในชุมชนที่เป็นพื้นที่เป้าหมายเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2022 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ประชุมมอบหมายให้คณะทำงาน ตามแผนที่ได้กำหนดไว้ คณะทำงานได้กำหนดพื้นที่ลงพบกลุ่มเป้าหมาย ในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2565 หมู่ที่ 3,4,5
คณะทำงานได้กำหนดพื้นที่ลงพบกลุ่มเป้าหมาย ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2565 หมู่ที่ 1,2,6
ชักชวนเข้าร่วมโครงการ และชี้แจงเป้าหมายของโครงการอย่างย่อๆเพื่อให้เข้าใจ ในวัตถุประสงค์ของโครงการ ใช่แบบสำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย เพื่อหาข้อมูลเบื้องต้นของพื้นที่ปลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทางคณะทำงาน ได้ชักชวนกลุ่มเป้าหมายในตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ที่รับปากว่าจะเข้าร่วมโครงการ หมู่ที่ 1 จำนวน 4 คน หมู่ที่ 2 จำนวน 5 คน หมู่ที่ 3 จำนวน 1ุ6 คน หมู่ที่ 4 จำนวน 4 คน หมู่ที่ 5 จำนวน 4 คน หมู่ที่ 6 ไม่มี ปัญหาส่วนใหญ่ที่ได้รับฟังจากการชักชวน ส่วนมากจะแจ้งว่าไม่มีเวลามาประชุม แต่พร้อมจะเข้าร่วมโครงการเพราะทำการปลูกพืช ผัก ประจำอยู่แล้ว แต่ไม่สามารถปลูกได้เยอะตามความต้องการของผู้บริโภค เพราะไม่มีคนช่วยทำการปลูก

 

5 0

7. กิจกรรมที่ 4 เวทีชี้แจงการวัตถุประสงค์ของโครงการร่วมกับผู้เข้าร้วมโครงการเพื่อหาแนวทางสร้าง กติการ่วมกัน กับภาคีเครือข่ายในพื้นที่

วันที่ 1 ธันวาคม 2022 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 4 เวทีชี้แจงการวัตถุประสงค์ของโครงการร่วมกับผู้เข้าร้วมโครงการเพื่อหาแนวทางสร้าง กติการ่วมกัน กับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ วันที่ปฎิบัติ
1 ธันวาคม 2565 เวลา 09.30.-16.00 น. รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ (ต้องเตรียมอะไรบ้าง) จากคลี่โครงการ__ ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 38 คน วัตถุประสงค์ :
1. เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ 2. เพื่อหาแนวทางกติการ่วม กับภาคีเครือข่าย ผลผลิต : 1. มีคณะทำงาน จำนวน 5 คน 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมดโครงการ 3. ภาคีเครือข่าย
ผลลัพธ์ : 1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 5 คน 2. ได้เป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 33 คน 3. ได้ภาคีเครือข่าย องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทอม 1 เครือข่าย 4. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 3 บ้านหัวนอนวัด ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ วิธีดำเนินงาน : 1. นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ทำหนังสือแจ้ง กลุ่มเป้าหมาย และประชุมเตรียมคณะทำงานในวันทำกิจกรรม โดยแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบของแต่ละคน ทำหนังสือเชิญภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วม ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมาย 2. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทรื ติดต่อประสานกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ วัน เวลา และอาหาร 3. นายธนบดี เจริญผล และนางสาวศุภสุตา แสงมณี บันทึกภาพ และเก็บข้อมูล 4. นางเกวลิน สุขสว่างไกร ทะเบียนผู้เข้าร่วม เอกสารการเงิน

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
1. ข้อมูลผู้เข้าร่วมโครงการ
วิธีการเก็บตัวชี้วัด : 1. แบบผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เวทีชี้แจงการดำเนินงานโครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ภายใต้ชุดโครงการการฟื้นฟูคุณภาพชีวิต และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากแก่ผู้ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 เพื่อการสร้างเสริมสุขภาวะจังหวัดภาคใต้โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทอม ผู้ใหญ่บ้าน แกนนำชุมชน และเกษตรกรที่สนใจเรื่องเกษตรปลอดภัย เข้าร่วมประชุมกว่า 41 คน ในเวที เป็นการสร้างความเข้าใจให้กับผู้เข้าร่วมประชุมเห็นถึงเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของโครงการ เป็นการกำหนดเป้าหมายร่วม และแผนการทำงานร่วมกัน
จุดเด่นในเวที คือ ชวงพักกลางวัน ซึ่งแทนที่ทีมงานจะนัดอาหารกล่องก็ให้ผู้เข้าร่วมประชุมพาปิ่นโตอาหารกันเองมาเอง และมาแบ่งกันรับประทาน ทำให้ได้เมนูอาหารที่หลากหลาย และเป็นเมนูอาหารพื้นบ้านที่มีตามฤดูกาล เช่น แกงส้มปลาท่องเที่ยวกับมันขี้หนู ปลากระบอกร้า น้ำพริกกะปิกินกับถั่วพลู ไข่เจียวชะอม แกงคั่วปลาดุกใบรา ฯลฯ
บางทีการจัดประชุมในพื้นที่ในชุมชน อาจต้องกลับมาใช้วิถีเดิม ๆ การพึ่งพากันเอง การนำอาหารมากินเอง แทนการซื้อจากแม่ค้า จากคนกลางเพียงเจ้าเดียว

ภาคีเครือข่ายในตำบลแม่ทอม ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทอม ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 3 สมาคมอาสาสร้างสุข

สรุป สมาชิกกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ร้านผักปลอดภัย หลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จำนวน 33 คน ลำดับ ชื่อ -นามสกุล ที่อยู่ โทรศัพท์ ลายมือชื่อ 1 นางนิคม อินทนิล 36/2 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
2 นางสุชาดา เทพอรัญ 30 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
3 นางดวงใจ สุขสวัสดิ์ 32 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
4 นางมาลินี นวลจันทร์ 23/1 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
5 นางสมใจ เทพอรัญ 28 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
6 นายทวีป อินสะโร 13 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
7 นายไข่ ไชยภัดดี 14 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
8 นางจำเนียร กุลนิล 22/1 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
9 นางชฎาพร ศรีธรรมการ 15/2 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
10 นางกิ้มเถี้ยง ทองชูช่วย 20 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
11 นางกิ้มเอี้ยน มุณีแนม 37 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
12 นางอารมณ์ เพชรมุณี 20/1ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
13 นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ 15/1 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
14 นายชาญวิทูร สุขสว่างไกร 33/3 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ หมู่ 3 จำนวน 14 คน 15 นางสุคน แก้วกุลนิล 23/1 ม.2 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
16 นางยุพิน หวานวงค์ 3 ม.2 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
17 นางยุวดี อินทนิล 26/1 ม.2 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
18 นางปิยพัธร์ แก้วฐิติพงษ์ 37 ม.2 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
19 นางจำเนียร ศรีสวัสดิ์ 7 ม.2 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
20 นางประไพ สังขพันธ์ 7 ม.2 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
21 นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ หมู่2 จำนวน 7 คน 22 นางจวน บุญศัพย์ 75 ม.1 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
23 นางสมคิด พันคง 49 ม.1 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
24 นางสมนึก แก้วสวัสดิ์ ม.1 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ หมู่ 1 จำนวน 3 คน 25 นางอาภรณ์ จินดาดำ 1/1 ม.5 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
26 นายธวัช จินดาดำ 3 /1 ม.5 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
27 นางเจือ ธรรมใจ  ม.5 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
28 นายนรินทร ศรีสวัสดิ์ 13 /1 ม.5 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
29 นายอนุวัต ลัภกิตโร  ม.5 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ หมู่ 5 จำนวน 5 คน 30 นางถ้อง บัวทอง ม.4 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
31 นางเย็น มณีโชติ 34/2 ม.4 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
32 นางสาวสุนิตย์ แก้วสวัสดิ์ 21 ม.4 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ
33 นางสาวสมพิณ กุลนิล 10 ม.4 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ หมู่ 4 จำนวน 4 คน รวมสมาชิกในโครงการ 33 คน

 

40 0

8. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565 (ครั้งที่ 2)

วันที่ 10 ธันวาคม 2022 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ
ได้แจ้งคณะทำงานในกลุ่มไลด์ เชิญประชุม 10 ธันวาคม 2566 เวลา 9.30-16.00 ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า เพื่อติดตาม และวางแผนการทำงาน ของคณะทำงาน ในการพบกลุ่มเป้าหมาย และปัญหาที่พบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 6 คน ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า
ผลลัพธ์ คณะทำงานจำนวน 4 ท่าน ได้เข้าใจบทบาทของตนเองที่ได้รับมอบหมายในการปฎิบัติหน้าที่
ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม เกิดความเข้าใจร่วมกันในการปฎิบัติงาน นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร ได้เคลียร์เอกสาร บัญชีการเงิน เพื่อให้เกิดความเข้าใจรวมกันการปฎิบัติ และได้แก้ไขเอกสารที่ยังไม่สมบูรณ์ ให้เกิดความเรียบร้อย
นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ได้แจ้งที่ประชุม ว่าปัญหาที่ค้นพบของกลุ่มเป้าหมาย ก็ยังเป็นช่วงฤดูฝน การดำเนินการต่างๆของกลุ่มเป้าหมายเพื่อบรรลุตามวัตถุประสงค์นั้น ไม่ได้เป็นไปตามแผนที่วางไว้ นางสาวศุภสุตา แสงมณี ได้บันข้อมูล เบื้องต้นของกลุ่มเป้าหมาย ที่พบปัญหา และช่วยการวางแผนงานในครั้งต่อไป ในการพัฒนาความรู้และทักษะ ด้านการเกษตร การเงิน สุขภาพ และทั้งด้านสังคม

 

5 0

9. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนมกราคม 2565 (ครั้งที่ 3)

วันที่ 30 มกราคม 2023 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ไลน์ ขอเชิญประชุมคณะทำงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ประกอบด้วย นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร บัญชี การเงิน นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ผู้ประสานงาน นายธนบดี เจริญผล นักสื่อสารประชาสัมพันธ์ นางสาวศุภสุตา แสฃงมณี เลขานุการ และนางสาวจำเนียร กุลนิล
10 มกราคม 2566 เวลา 10.00 -16.00 น. ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) คณะทำงานและแกนนำเข้าร่วมประชุม จำนวน 7 คน
ผลลัพธ์ (Outcome) คณะทำงาน 5 ท่าน ได้เข้าใจบทบาทของตนเองที่ได้รับมอบหมายในการปฎิบัติหน้าที่
ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม นางเตือนจิต ศรีสวัสด์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ชี้แจง ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว เช่น การพบกับกลุ่มเป้าหมาย ทำให้ทราบว่าตอนนี้ไม่สามารถปลูกผักได้ เพราะเป็นช่วงของฤดูฝน ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มเป้าหมายจะนำผักกินยอดมาขายที่ตลาด หรือไว้รับประทานเอง เช่น ยอดสะตอ ยอดมะม่วงหิมพาน มันปู ตำลึง หน่อไม้ ฯลฯ
นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ เก็บข้อปัญหาที่พบของกลุ่มเป้าหมาย ที่พบเจอทุกครั้ง คือแมลงศัตรูพืช ซึ่งเป็นปัญหาของการปลูกผักปลอดภัย จึงขอเสนอในที่ประชุม ควรให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ ลงมาตรวจเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย

 

5 0

10. กิจกรรมที่ 5 ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ปัญหา อุปสรรค เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการ

วันที่ 31 มกราคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 5 ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ปัญหา อุปสรรค เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการ วันที่ปฎิบัติ 31 มกราคม 2566 เวลา 09.30.-16.00 น. และวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ (ต้องเตรียมอะไรบ้าง) จากคลี่โครงการ__ ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 8 คน วัตถุประสงค์ :
1. เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการดำเนินงาน 2. เพื่อบันทึกข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต : 1. มีคณะทำงาน จำนวน 5 คน 2. มีข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์ : 1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 5 คน 2. เกิดข้อมูลปัญหา และแนวทางแก้ไข
วิธีดำเนินงาน : 1. นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ทำหนังสือแจ้ง กลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา ในการลงพื้นที่ 2. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทรื ติดต่อประสานกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ วัน เวลา 3. นายธนบดี เจริญผล และนางสาวศุภสุตา แสงมณี บันทึกภาพ เก็บข้อมูล ( Google Form ) หรือ ชุดข้อมูลแบบสอบถาม

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
1. แบบสอบถามข้อมูล
วิธีการเก็บตัวชี้วัด : 1. มีแบบประเมินการเก็บข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต output
แบบสำรวจข้อมูล ในการเก็บข้อมูล คำชี้แจง (1) โปรดเติมข้อมูลในช่องว่าง.... และทำเครื่องหมายถูก ✓ ลงใน  หน้าข้อความที่ตรงกับข้อมูลของท่าน (2) ข้อมูลเหล่านี้จะถูกประมวลในระดับหมู่บ้าน/ตำบล เพื่อใช้ประโยชน์ในการร่วมกันแก้ไขปัญหาของชุมชนต่อไป (3) แบบสอบถามนี้ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 ความสนใจทางการเกษตร/การสร้างความมั่นคงทางอาหาร ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล 1.1 ชื่อ – นามสกุล (นาย/นาง/นางสาว) ...................................................................................................... 1.2 วัน/เดือน/ปีเกิด........................................เลขบัตรประจำตัวประชาชน........................................ อายุ..................ปี เชื้อชาติ.......................สัญชาติ................................ศาสนา............................................. น้ำหนัก.........................กิโลกรัม ส่วนสูง.......................เซนติเมตร 1.3 ที่อยู่ตามทะเบียนบ้าน ตำบล...........................อำเภอ..........................จังหวัด......................... 1.4 ที่อยู่อาศัยปัจจุบัน
บ้านเลขที่.............หมู่ที่...........ถนน...................ตำบล...................อำเภอ...............จังหวัด......................... เบอร์โทรศัพท์...................................................................... จำนวนคนที่อาศัยอยู่จริงในครัวเรือน.............. คน แบ่งออกเป็น เพศชาย..................คน เพศหญิง....................คน   บ้านตนเอง   อาศัยผู้อื่นอยู่ (บิดามารดา/บุตร/ญาติ)
  บ้านเช่า
  อาศัยอยู่กับนายจ้าง   ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง   ที่พักชั่วคราว (เพิง/แคมป์ก่อสร้าง)

1.5 สถานภาพ
  โสด   สมรส อยู่ด้วยกัน   สมรส แยกกันอยู่   หย่าร้าง   ไม่ได้สมรสแต่อยู่ด้วยกัน   หม้าย คู่สมรสเสียชีวิต

1.6 ระดับการศึกษาสูงสุด (ที่สำเร็จการศึกษา)
  ไม่ได้รับการศึกษา/ไม่จบชั้นประถมศึกษาตอนต้น
  ประถมศึกษาตอนต้น   ประถมศึกษาตอนปลาย   มัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่า

  มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. หรือเทียบเท่า   อนุปริญญา / ปวส.

  ปริญญาตรี   สูงกว่าปริญญาตรี

1.7 สถานภาพทางสังคม   ไม่มีตำแหน่ง   กำนัน   คณะกรรมการหรือสมาชิกกลุ่มอาชีพ   ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน   สมาชิกเทศบาลหรือ อบต.   อสม.   ผู้ใหญ่บ้าน   อพม.   อื่น ๆ ระบุ.................................

1.8 การประกอบอาชีพหลักในครัวเรือน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)   ไม่มีอาชีพ/ว่างงาน   นักเรียน นักศึกษา   เกษตร (สวนยางพารา ปาล์มน้ำมัน   ประมง   เกษตร สวนผลไม้ (ระบุ) ...............................   รับราชการ/พนักงานของรัฐ   ปลูกผัก (ระบุ)...........................   ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว   เลี้ยงสัตว์ (ระบุ) ..................................   พนักงานบริษัท   แรงงานรับจ้างทั่วไป   พนักงานรัฐวิสาหกิจ
  อื่นๆ (ระบุ)..........................................................
1.9 รายได้รวมโดยเฉลี่ยต่อเดือน.............................................บาท
1.10 การถือครองที่ดินทำกิน   มีที่ดินทำกิน จำนวน.......................................ไร่   ไม่มีที่ดินทำกิน   มีเฉพาะที่ดินปลูกสร้างบ้าน 1.11 ที่ดินทำกินมีเอกสารสิทธิ์เป็นแบบใด   ไม่มีเอกสารสิทธิ์   เป็นโฉนดที่ดิน   เป็นเอกสาร นส.3
  เป็นเอกสาร มสค.1   เป็นเอกสาร สปก.   อื่น ๆ ระบุ..........................................................

1.12 ท่านมีภาระหนี้สินหรือไม่   มีหนี้สิน ....................................................บาท   ไม่มีหนี้สิน   นอกระบบ   ในระบบ

1.13 สวัสดิการที่ท่านได้รับในปัจจุบัน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)   ไม่มีสวัสดิการใด
  บัตรทอง
  บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
  เงินอุดหนุนเด็กแรกเกิด
  บัตรประกันสังคม
  เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
  เบี้ยเลี้ยงดูผู้พิการ
  กองทุนชุมชน
  ประกันชีวิต   สวัสดิการข้าราชการ   บัตร อสม.
  อื่น ๆ ระบุ......................................................

1.14 ทักษะหรือความสามารถที่ท่านมีที่สามารถต่อยอดเป็นอาชีพได้ .......................................................... 1.15 อาชีพที่สนใจอยากทำ......................................................................................................... ส่วนที่ 2 ความสนใจทางการเกษตร/การสร้างความมั่นคงทางอาหาร 2.1 ครัวเรือนของท่านมีการปลูกผักหรือเลี้ยงสัตว์ไว้กินเองในครัวเรือนหรือไม่   ไม่มี   มี ปลูกผัก   มี เลี้ยงสัตว์

2.2 ชนิดของผักที่ปลูกไว้กินเองในครัวเรือน 1).................................................. 2).................................................. 3)............................................. 4).............................................. 5)............................................. 6)............................................ 2.3 ชนิดของสัตว์ที่เลี้ยงไว้กินเองในครัวเรือน 1)............................................. 2)................................................. 3)............................................... 4)............................................... 5)............................................ 6) ............................................. 2.4 บริเวณที่ท่านใช้ในการปลูกผักและเลี้ยงสัตว์ในครัวเรือน 1)..................................................................... 3)....................................................................... 2)........................................................................ 4) .....................................................................

2.5 วิธีการที่ใช้ในการปลูกผักในครัวเรือน   ปลูกในดิน   ปลูกในกระถาง   ปลูกในกระสอบ   ปลูกในภาชนะเหลือใช้   ปลูกในปล่องซีเมนต์   ปลูกในล้อยางรถยนต์   ปลูกในถุงพลาสติก   ปลูกในแก้วพลาสติก   ปลูกแบบกางมุ้ง

  ปลูกแบบยกแคร่   อื่น ๆ .........................

2.6 ท่านสนใจสมัครเข้าร่วมโครงการหรือไม่   สนใจ ระบุ.......................................... (ปลูกผักหรือเลี้ยงสัตว์)   ไม่สนใจ

2.7 ชนิดของผักที่ต้องการจะปลูกไว้รับประทานเองในครัวเรือน 1)......................................... 2)............................................. 3)............................................... 4)............................................... 5).............................................. 6) ....................................... 2.8 วิธีการปลูกผักที่ท่านสนใจ   ปลูกในดิน   ปลูกในกระถาง   ปลูกในกระสอบ   ปลูกในภาชนะเหลือใช้   ปลูกในปล่องซีเมนต์   ปลูกในล้อยางรถยนต์   ปลูกในถุงพลาสติก   ปลูกในแก้วพลาสติก   ปลูกแบบกางมุ้ง
  ปลูกแบบยกแคร่   อื่น ๆ .............................

2.9 ชนิดของสัตว์ที่ต้องการจะเลี้ยงไว้รับประทานเองในครัวเรือน 1)......................................... 2)..................................... 3)............................................ 4)............................................. 5)........................................... 6) .............................................. 2.10 ท่านอยากสร้างแปลงผักชุมชนไว้บริเวณใด   บริเวณวัด   ริมถนนในหมู่บ้าน   พื้นที่สาธารณะ   บริเวณโรงเรียน/สถานศึกษา   พื้นที่รกร้าง ไม่ได้ใช้ประโยชน์   บริเวณ อบต./เทศบาล

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม กิจกรรมที่ 5 ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ปัญหา อุปสรรค เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการ วันที่ 31 มกราคม -1 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น. - 16.00 น. ณ วันที่ 31 มกราคม 2566 หมู่ที่ 1-3 ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 8 คน

มีกลุ่มเป้าหมายวันที่ 31 มกราคม 2566 จำนวน 16 ราย ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 1 ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญ ของกิจกรรมให้กับคณะทำงาน ในการลงพื้นที่  โดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 2. การบันทึกข้อมูลในแบบสอบถาม โดยนางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร นางสาวศุภสุตา แสงมณี และนางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ 3. ปักหมุดพื้นที่แปลงปลูก โดยนายธนบดี เจริญผล ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.คณะทำงาน กับกลุ่มเป้าหมายที่ลงเก็บข้อมูล ได้เสนอปัญหา เช่นศัตรูแมลงพืชผัก สภาพฝนตกบ่อยไม่สามารถปลูกได้ ฯลฯ 2.ได้ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายปลูกผักปลอยภัย ในตำบลแม่ทอม 3.ผู้เข้าร่วมมีความมีความต้องการให้ทีมทำงานลงพื้นที่เพื่อร่วมกันวิเคราะห์แนวทางในการผลิตสินค้า

ข้อเสนอแนะ 1.สำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ ควรชวนภาคีเครือข่ายอื่นๆเข้ามาสนับสนุนข้อมูลการทำงานร่วมกัน แนวทางการพัฒนา 1.ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ในกระบวนการปลูกผักปลอยภัย 2.ควรทำแปลงผักยกแคร่ เพื่อสะดวกกับผู้สูงอายุ

งบประมาณ
1,600 บาท

 

5 0

11. ประชุมติดตาม ประเมินโครงการ ARE

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ (ต้องเตรียมอะไรบ้าง)
กิจกรรม : เวทีประชุมติดตาม ประเมินโครงการ ARE
วันที่ : 5 กูุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13.00 – 16:00 น. ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 30 คน วิทยากรกระบวนการ : นายชาญวิทูร สุขสว่างไกร ที่ปรึกษาโครงการ วัตถุประสงค์ :
1. เพื่อประเมินตามตามโครงการ 2. เพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาในการขับเคลื่อนโครงการ ผลผลิต : 1. มีคณะทำงาน จำนวน 5 คน 2. มีภาคีเครือข่าย จำนวน 1 ภาคีเครือข่าย 3. มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย 4. มีความรู้ทางด้านสุขภาพและการเงิน ร้อยละ 80 ผลลัพธ์ : 1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 5 คน 2. เกิดภาคีเครือข่ายผู้ผลิต จำนวน 1ภาคีเครือข่าย 3. เกิดโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย 4. เกิดความรู้ทางด้านสุขภาพและการเงิน ร้อยละ 80 วิธีดำเนินงาน : 1. นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา
2. นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร ติดต่อสถานที่,จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องอาหารและแนะนำโครงการ,วัตถุประสงค์,ชี้แจงกระบวนการทำงาน 4. นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร แนะนำความรู้ทางด้านสุขภาพและการเงิน / ความรู้เรื่องบัญชีครัวเรือน

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
1. แบบประเมินเรื่องสุขภาพและการเงิน 2. แบบประเมินความรู้บัญชีครัวเรือน วิธีการเก็บตัวชี้วัด : 1. มีแบบประเมินเรื่องสุขภาพและการเงิน ( Google Form ) 2. มีแบบฟอร์มการทำบัญชีครัวเรือน
เวลาที่เก็บตัวชี้วัด : เดือน กุมภาพันธ์ 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม เวที ประชุมติดตาม ประเมินโครงการ ARE
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:00 น. - 16.00 น. ณ อาคารอเนกประสงค์ริมคลอง ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน .......... คน มีกลุ่มเป้าหมายภาคีเครือข่าย 1 พื้นที่ ได้แก่
1. คณะกรรมการหมู่บ้านบ้านหัวนอนวัด ม.3 (ผู้ใหญ่บ้านฉัตรชัย ธรรมชาติ)
ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 1.กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญ ของโครงการ โดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 2.เปิดเวทีชี้แจงโครงการให้แก่กลุ่มเป้าหมายเข้าใจในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยนายชาญวิทูร สุขสว่างไกร (ที่ปรึกษาโครงการ) 3.นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนโครงการที่ผ่านมา ปัญหา อุปสรรค นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 4.การทำบัญชีครัวเรือนอย่างง่ายเพื่อผู้ผลิต / ความรู้ทางด้านสุขภาพและการเงิน โดย นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร (เลขานุการโครงการ) ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความสนใจในการสะท้อนปัญหา จำนวน 38 คน
2.กลุ่มผู้ผลิตร่วมการเรียนรู้กระบวนการเอาผลิตผักปลอดภัย
3.ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจ ทางด้านสุขภาพและการเงิน และการทำบัญชีการเงินอย่างง่าย ข้อเสนอแนะ 1.ควรลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายและให้ความรู้กับสมาชิกอย่างละเอียด 2.สำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำและภาคีเครือข่ายอื่นๆควรเข้ามาสนับสนุนข้อมูลการทำงานร่วมกัน แนวทางการพัฒนา 1.การออกแบบกิจกรรมที่มีความเข้าใจง่าย กลุ่มเป้าหมายรู้สึกสนุกสนานกับการทำกิจกรรม 2.ค้นหาเด็กรุ่นใหม่ในชุมชนเข้าร่วมกระบวนการกับกลุ่ม 3. ต้องหาแนวทางในใช้สมุนนไพรไล่แมลง เพื่อความปลอดภัยจากการปลูกผักปลอดภัย 4. ปฏิทินการปลูกประจำปี เพื่อแก้ปัญหาจากศัตรูพืช ผัก งบประมาณ
750 บาท38

 

0 0

12. เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 พื้นที่ภาคใต้

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • นำเสนอความก้าวมหน้า และผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลา 6 เดือน ในประเด็นหัวข้อต่าง ๆ เช่น ปัญหา / อุปสรรค / ผลลัพธ์ / ความรู้ด้านสุขภาพ / ความรู้ด้านการเงิน / กิจกรรมที่เพิ่มขึ้นและนำออกจากโครงการ / ความต้องการการหนุนเสริมจากภาคีเครือข่าย / ความสำเร็จที่เกิดขึ้น เป็นต้น
  • เวทีสรุปภาพรวมกิจกรรม ผลลัพธ์และผลการดำเนินงานของแต่ละพื้นที่ เพื่อแลกเปลี่ยนผลการดำเนินงานร่วมกันกับภาคีเครือข่าย และนำมาประยุกต์ใช้กับการดำเนินงานในพื้นที่โครงการของตนเอง
  • กิจกรรมแลกเปลี่ยนบทเรียนการดำเนินงาน และสรุปบทเรียนของแต่ละพื้นที่
  • ถ่ายทอดเทคนิค การคีย์บันทึกข้อมูลในระบบ “ คนสร้างสุข ” เพื่อง่ายต่อการตรวขสอบและบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบมากขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นจากการเข้าร่วมกิจกรรม 1.ได้ข้อมูลจากการแลกเปลี่ยนในเวทีร่วมกับภาคีต่าง ๆ และสามารถนำข้อมูล มาเป็นแนวทางการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ของตนเอง 2.ได้แนวทางใหม่ในการดำเนินงานโครงการในพื้นที่ 3.ได้เทคนิคการคีย์ข้อมูลในระบบเว็บ “ คนสร้างสุข ” อย่างมีประสิทธิภาพ 4.ได้ความรู้การทำบัญชีการเงินอย่างถูกต้อง 5.ได้ความรู้การเขียนบันทึกกิจกรรมลงเว็จไซต์

 

0 0

13. กิจกรรมที่ 8 การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ (ต้องเตรียมอะไรบ้าง) จากคลี่โครงการ กิจกรรมที่ 8 : เวที การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น วันที่ : 16 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 16:00 - 18.00 น. ณ กลุ่มวิสาหกิจสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า

ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 9 คน วิทยากร : นางมาลินี นวลจันทร์ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 10.00 น.-16.30. น. ณ สนง.ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา วัตถุประสงค์ :
  1. เพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร   2. เพื่อทราบวิธีการทำผักทอดเพื่อเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น   3. เพื่อต้องการทราบความต้องการของผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการชิมผักทอด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต : วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566   1. มีคณะทำงาน จำนวน 4 คน   2. แกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 4 คน   3. มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. สูตรวิธีการทำผักทอด ผลลัพธ์ :   1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 4 คน ที่ร่วมเรียนรู้   2. เกิดแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 4 คน ร่วมเรียนรู้กับทางวิทยากร   3. เกิดโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. เกิดสูตรวิธีการทำผักทอด วิธีดำเนินงาน : 1. นาเตือนจิต ศรีสวัสด์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นาสาวเกวลิน สุขสว่างไกร จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องอาหารว่าง เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้สาธิต และกระบวนการสาธิตการทำผักทอด,จดสูตรการทำผักทอดแต่ละสูตร ในการทดลอง 4. นางสาวจำเนียร กุลนิล เตรียมหาผักที่ใช้ทอดกรอบ
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
  1. แบบประเมินให้ทดลองชิมผักแต่ละชนิด
วิธีการเก็บตัวชี้วัด :   1. มีแบบประเมินถามความรู้สึกผักแต่ละชนิดที่กลุ่มเข้าร่วมได้ชิม และประเมินแต่ละสูตรว่าสูตรใดเหมาะสม กับผักชนิดใด
เวลาที่เก็บตัวชี้วัด : 16 กุมภาพันธ์ 2566

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม เวที การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น วันที่ : 16 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 16:00 - 18.00 น. ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 9 คน วิทยากร : นางมาลินี นวลจันทร์ มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
1. คณะทำงานจำนวน 4 คน 2. แกนนำ ม.3 ต.แม่ทอม 1 คน นางสาวจำเนียร กุลนิล 3. สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 3 คน

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 1.กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญ ของโครงการ โดยนางเตือนโดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 2.เปิดเวทีชี้แจงกิจกรรมโครงการให้แก่กลุ่มเป้าหมายเข้าใจในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 3.วิทยากรแนะนำวัสดุ อุปกรณ์ และส่วนผสมแป้งทอดกรอบผักตามปริมาณที่กำหนด เทคนิคการใช้ไฟทอดกรอบ โดยนางมาลินี นวลจันทร์ (วิทยากร) 4.ผู้เข้าร่วมกันทดลองทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ พร้อมเสนอแนะ (สมาชิกผู้เข้าร่วม)

ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความสนใจ และร่วมกันทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ
2.เกิดสูตรการทอดผักทอด 3 สูตร 1. แป้ง+น้ำ อย่างละเท่ากัน 2.แป้ง+น้ำ+เกลือ 1 ช้อนชา 3. แป้ง+น้ำปูนใส+เกลือ 1 ช้อนชา เป็นความรู้ให้แก่สมาชิกเข้าร่วม 3. เกิดผักที่สามารถทอดได้คุณภาพดี เช่น ดอกแค ดอกอัญชัน ผักเคล ผักบุ้งจีน ใบชะพูล ใบหม่อน ผักหวาน ใบผักน้ำ ใบตำลึง ใบกระท่อม ผักและผลไม้ที่ไม่ได้ผลเท่าที่ควร เช่นมันเทศ ปลีกล้วย ลูกกล้วย 4. เกิดข้อสรุปว่าได้สูตรที่จะใช้ในการ ผลผลิต :   1. มีคณะทำงาน จำนวน 4 คน   2. แกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 4 คน   3. มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. สูตรวิธีการทำผักทอด ผลลัพธ์ :   1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 4 คน ที่ร่วมเรียนรู้   2. เกิดแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 4 คน ร่วมเรียนรู้กับทางวิทยากร   3. เกิดโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. เกิดสูตรวิธีการทำผักทอด วิธีดำเนินงาน : 1. นาเตือนจิต ศรีสวัสด์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นาสาวเกวลิน สุขสว่างไกร จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องอาหารว่าง เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้สาธิต และกระบวนการสาธิตการทำผักทอด,จดสูตรการทำผักทอดแต่ละสูตร ในการทดลอง 4. นางสาวจำเนียร กุลนิล เตรียมหาผักที่ใช้ทอดกรอบ
ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
  1. แบบประเมินให้ทดลองชิมผักแต่ละชนิด
วิธีการเก็บตัวชี้วัด :   1. มีแบบประเมินถามความรู้สึกผักแต่ละชนิดที่กลุ่มเข้าร่วมได้ชิม และประเมินแต่ละสูตรว่าสูตรใดเหมาะสม กับผักชนิดใด
เวลาที่เก็บตัวชี้วัด : 16 กุมภาพันธ์ 2566

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม เวที การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น วันที่ : 16 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 16:00 - 18.00 น. ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 9 คน วิทยากร : นางมาลินี นวลจันทร์ มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
1. คณะทำงานจำนวน 4 คน 2. แกนนำ ม.3 ต.แม่ทอม 1 คน นางสาวจำเนียร กุลนิล 3. สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 3 คน

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 1.กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญ ของโครงการ โดยนางเตือนโดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 2.เปิดเวทีชี้แจงกิจกรรมโครงการให้แก่กลุ่มเป้าหมายเข้าใจในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 3.วิทยากรแนะนำวัสดุ อุปกรณ์ และส่วนผสมแป้งทอดกรอบผักตามปริมาณที่กำหนด เทคนิคการใช้ไฟทอดกรอบ โดยนางมาลินี นวลจันทร์ (วิทยากร) 4.ผู้เข้าร่วมกันทดลองทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ พร้อมเสนอแนะ (สมาชิกผู้เข้าร่วม)

ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความสนใจ และร่วมกันทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ
2.เกิดสูตรการทอดผักทอด 3 สูตร 1. แป้ง+น้ำ อย่างละเท่ากัน 2.แป้ง+น้ำ+เกลือ 1 ช้อนชา 3. แป้ง+น้ำปูนใส+เกลือ 1 ช้อนชา เป็นความรู้ให้แก่สมาชิกเข้าร่วม 3. เกิดผักที่สามารถทอดได้คุณภาพดี เช่น ดอกแค ดอกอัญชัน ผักเคล ผักบุ้งจีน ใบชะพูล ใบหม่อน ผักหวาน ใบผักน้ำ ใบตำลึง ใบกระท่อม ผักและผลไม้ที่ไม่ได้ผลเท่าที่ควร เช่นมันเทศ ปลีกล้วย ลูกกล้วย 4. เกิดข้อสรุปว่าได้สูตรที่จะใช้ในการทดลองทำผักทอด ในวันที่19 กุมภาพันธ์ 2566 กับกลุ่มเป้าหมาย และผู้เข้าร่วมกิจกรรม ข้อเสนอแนะ 1.สูตรการทำผักทอดยังไม่คงที่ 2.ยังมีน้ำมันคงเหลือในผักทอด อมน้ำมันอยู่ 3.ปรึกษาหน่วยงานหรือองค์กรที่มีความรุู้ในเรื่องการสลัดเอาน้ำมันออกจากผักทอด อีกครั้ง งบประมาณ
จำนวนเงิน - บาท

ผลผลิต : วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566   1. มีคณะทำงาน จำนวน 5 คน   2. แกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 35 คน   3. มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. สูตรวิธีการทำผักทอด ผลลัพธ์ :   1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 5 คน ที่ร่วมเรียนรู้   2. เกิดแกนนำ และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 35 คน ร่วมเรียนรู้กับทางวิทยากร   3. เกิดโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงานและภาคีเครือข่าย   4. เกิดสูตรวิธีการทำผักทอด   5. เกิดภาคีเครือข่าย 2 องค์กร วิธีดำเนินงาน : 1. นาเตือนจิต ศรีสวัสด์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นาสาวเกวลิน สุขสว่างไกร จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องอาหารว่าง เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้สาธิต และกระบวนการสาธิตการทำผักทอด,จดสูตรการทำผักทอดแต่ละสูตร ในการทดลอง 4. นางสาวจำเนียร กุลนิล เตรียมหาผักที่ใช้ทอดกรอบ
5. นายธนบดี เจริญผล เก้บข้อมูลสัมภาษณืบุคคลที่ได้ชิมผักทอด 6. กลุ่มสมาชิกได้นำผักมาทดลองใช้ทอด ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
  1. แบบประเมินให้ทดลองชิมผักแต่ละชนิด   2. แบบประเมินผักแต่ละชนิดที่สามารถทอดได้ วิธีการเก็บตัวชี้วัด :   1. มีแบบประเมินถามความรู้สึกผักแต่ละชนิดที่กลุ่มเข้าร่วมได้ชิม และประเมินกับผักชนิดใดที่เหมาะสม
เวลาที่เก็บตัวชี้วัด : 19 กุมภาพันธ์ 2566

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม เวที การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น วันที่ : 19 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 10:00 - 16.30 น. ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 40 คน วิทยากร : นางมาลินี นวลจันทร์ มีกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่
1. คณะทำงานจำนวน 5 คน 2. คณะกรรมการ และสมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ม.1-4 ต.แม่ทอม 1 กลุ่ม 3. เด็กนักเรียนในตำบลแม่ทอม ที่รับมารับทุนการศึกษา จาก กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ม.1-4 ต.แม่ทอม
3. สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 35 คน ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมมีความสนใจ และร่วมกันทอดผัก และชิมผักทอดกรอบ
2.เกิดสูตรการทอดผักทอด 1 สูตร 1.แป้ง+น้ำเย็นหรือน้ำโซดา+เกลือ 1 ช้อนชา เป็นความรู้ให้แก่สมาชิกเข้าร่วม 3. เกิดผักที่สามารถทอดได้คุณภาพดี เช่น ดอกแค ดอกอัญชัน ผักเคล ผักบุ้งจีน ใบชะพูล ใบหม่อน ผักหวาน ใบผักน้ำ ใบตำลึง ใบกระท่อม แครอท ผักโขม
4. เกิดข้อสรุปว่าได้สูตรที่ใช่ จากการประเมินของผู้เข้าร่วม ผลลัพธ์ 1. นาเตือนจิต ศรีสวัสด์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นาสาวเกวลิน สุขสว่างไกร จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องประสาน อาหารเที่ยง อาหารว่าง เตรียม อุปกรณ์ที่ใช้สาธิต และกระบวนการสาธิตการทำผักทอด,จดสูตรการทำผักทอดแต่ละสูตร ในการทดลอง 4. นายธนบดี เจริญผล เก้บข้อมูลสัมภาษณืบุคคลที่ได้ชิมผัก/และถ่ายคลิป ขั้นตอนการแปรรูป 5. ได้ข้อเสนอแนะ เช่นมีน้ำมันในผักทอดเยอะเกิน ไม่น่ารับประทาน / ควรนำไปขายที่ตลาดนัด 100 ปีวัดคูเต่า
6. ใบช้าพูลอร่อยมาก พริกๆร้อนๆ กรอบดี
7. อยากให้ทางกลุ่มผลิตออกขายทั้งออนไลน์ หรือออนไซต์ ในกลุ่มไลน์หมู่บ้าน
8. ราคาไม่ควรแพง เช่น 10 -20 บาทไม่เกินนี้ 9. กินกับน้ำจิ้มจะอร่อยมาก กรอบ
ข้อเสนอแนะ 1.สูตรการทำผักทอดยังไม่คงที่ 2.ยังมีน้ำมันคงเหลือในผักทอด อมน้ำมันอยู่ 3.ปรึกษาหน่วยงานหรือองค์กรที่มีความรุู้ในเรื่องการสลัดเอาน้ำมันออกจากผักทอด อีกครั้ง 4. เมื่อเก็บไว้ข้ามคืน ผักทอดจะไม่กรอบ
งบประมาณ
จำนวนเงิน  16,750 บาท

 

30 0

14. กิจกรรมที่ 9 อบรมผลิตสื่อ Online เพื่อการตลาด เปิดช่องทางการขยายตลาดที่หลากหลายมากขึ้น

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ปฎิบัติ 20 เดือนกุมภาพันธ์ 2566 รายละเอียดขั้นตอน กระบวนการ (ต้องเตรียมอะไรบ้าง) จากคลี่โครงการ กิจกรรม1 : เวทีอบรมผลิตสื่อ Online เพื่อการตลาด เปิดช่องทางการขยายตลาดที่หลากหลายมากขึ้น เวลา 08:30 – 16:30 น. ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 20 คน วิทยากร : นายณัฐวัฒน์ กิตติธนาชูพันธ์ วัตถุประสงค์ :
1. เพื่อการตลาด เปิดช่องทางการขยายตลาดที่หลากหลายมากขึ้น 2. เพื่อเพิ่มทักษะการผลิตการสื่อออนไลน์
ผลผลิต : 1. มีคณะทำงาน จำนวน 5 คน 2. มีกลุ่มเป้าหมาย 15 คน 3. มีโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงาน 4. มีความรู้ทางด้านสุขภาพและการเงิน ร้อยละ 80 ผลลัพธ์ : 1. เกิดคณะทำงาน จำนวน 5 คน 2. เกิดเป้าหมาย 15 คน 3. เกิดโครงสร้างบทบาทหน้าที่คณะทำงาน 4. เกิดความรู้ทางด้านสุขภาพและการเงิน ร้อยละ 80 วิธีดำเนินงาน : 1. นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายและกำหนดเนื้อหา , ติดต่อวิทยากร 2. นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร ติดต่อสถานที่,จัดเตรียมสถานที่ ดูแลเรื่องเอกสารลงทะเบียน,เอกสารการเงิน , ถ่ายภาพกิจกรรม 3. นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ดูแลเรื่องอาหารและแนะนำโครงการ,วัตถุประสงค์,ชี้แจงกระบวนการทำงาน 4. นายธนบดี เจริญผล แนะนำแพลตฟอร์มออนไลน์ , ขั้นตอนการนำผลิตภัณฑ์ขึ้นจำหน่ายบนแพลตฟอร์มออนไลน์ , ออกแบบ Google form แบบฟอร์มเกี่ยวกับแบบประเมินเรื่องสุขภาพและการเงิน , ออกแบบ Google Form
5. นายณัฐวัฒน์ กิตติธนาชูพันธ์ (วิทยากร)ให้ความรู้เรื่องแพลตฟอร์มออนไลน์

ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง :
1. แบบประเมินเรื่องสุขภาพและการเงิน 2. แพลตฟอร์มออนไลน์ วิธีการเก็บตัวชี้วัด : 1. มีแบบประเมินเรื่องสุขภาพและการเงิน ( Google Form ) 2.สามารถทำแพลตฟอร์มออนไลน์ที่ได้รับการอบรม ส่งในกลุ่มไลน์โครงการหลาดร้อยปี สุขภาพดีวิถีชุมชน
เวลาที่เก็บตัวชี้วัด : เดือนกุมภาพันธ์ 2566

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร) รายงานผลการจัดกิจกรรม ผลิตสื่อ Online เพื่อการตลาด เปิดช่องทางการขยายตลาดที่หลากหลายมากขึ้น วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น. - 16.00 น. ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 20 คน

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 1.กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญ ของโครงการ    โดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 2.เปิดเวทีชี้แจงโครงการให้แก่กลุ่มเป้าหมายเข้าใจในการขับเคลื่อนกิจกรรม พร้อมจัดตั้งคณะทำงานในการดำเนินโครงการ โดยนายชาญวิทูร สุขสว่างไกร (ที่ปรึกษาโครงการ) 3.นำเสนอ แพลตฟอร์มออนไลน์ (พัฒนาเว็บไซต์) รวมถึงช่องทางการขาย Line Shopping , Page Facebook และ Tiktok และโดย นายณัฐวัฒน์ กิตติธนาชูพันธ์ (วิทยากร) 4.การทำบัญชีครัวเรือน ความรู้สุขภาพ อย่างง่ายโดย นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร (เลขานุการโครงการ)

ผลจากการดำเนินกิจกรรม 1.กลุ่มเป้าหมายจำนวน 25 คน และคณะทำงาน จำนวน 5 คน เข้าใจทักษะการผลิตสื่อออนไลน์
2.กลุ่มผู้ผลิตเป็นตัวแทนในการเรียนรู้กระบวนการแพลตฟอร์ม และกลับไปถ่ายทอดความรู้นี้ให้แก่สมาชิกในกลุ่ม 3.ผู้เข้าร่วมมีความมีความต้องการให้ทีมทำงานลงพื้นที่เพื่อร่วมกันวิเคราะห์แนวทาง ข้อเสนอแนะ 1.การใช้คำ ในการอธิบายกระบวนการ ทางทีมทำงานยังใช้คำที่เป็นภาษาเทคนิค ผู้เข้าร่วมบางคนยังไม่เข้าใจความหมายของภาษา 2.ควรลงพื้นที่กลุ่มเป้าหมายและให้ความรู้กับสมาชิกอย่างละเอียด 3.สำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ จะชวนภาคีเครือข่ายอื่นๆเข้ามาสนับสนุนข้อมูลการทำงานร่วมกัน แนวทางการพัฒนา 1.การออกแบบกิจกรรมที่มีความเข้าใจง่าย กลุ่มเป้าหมายรู้สึกสนุกสนานกับการทำกิจกรรม 2.ค้นหาเด็กรุ่นใหม่ในชุมชนเข้าร่วมกระบวนการกับกลุ่ม

งบประมาณ
9,500 บาท

 

20 0

15. กิจกรรมถอนเงินออกจากบัญชี

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ  ได้แจ้งคณะทำงานมาประชุม เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2566 ณ 33/3 หมู่ 3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา เพื่อแจ้งกับคณะทำงาน จะขอถอนเงินเปิดบัญชีโครงการ ของธนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กชี เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2565  500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เมื่องนางเตือนจิต  ศรีสวัสดิ์ ได้แจ้งที่ประชุม ซึ่งประกอบด้วยคณะทำงาน 5 คน ประกอบด้วย นางศุภสุตา  แสงมณี นายธนบดี  เจริญศรี  นางเตือนจิด  ศรีสวัสดิ์ นางกลอยใจ  ธรรมสุรินทร์  นางสาวเกวลิน  สุขสว่างไกร
ซึ่งมีอำนาจถอนเงินดังกล่าว จำนวน 3 ท่าน  นางศุภสุตา  แสงมณี  นางเตือนจิด  ศรีสวัสดิ์ นางกลอยใจ  ธรรมสุรินทร์  ถอน 2 ใน 3 ที่ประชุมสรุป มอบอำนาจให้  นางเตือนจิด  ศรีสวัสดิ์ นางกลอยใจ  ธรรมสุรินทร์ ไปถอนเงินจากธนาคารกรุงไทย สาขาบิ๊กชี บัญชีเลขที่ 887 0 74537 6 จำนวนเงิน 500 บาท
ซึ่งทั้ง 2 คนได้เดินทางไปถอนเงินจากธนาครในวันดังกล่าว เป็นที่เรียบร้อย

 

2 0

16. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนมีนาคม 2565 (ครั้งที่ 4)

วันที่ 12 มีนาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ไลน์ ขอเชิญประชุมคณะทำงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร บัญชี การเงิน นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ผู้ประสานงาน นายธนบดี เจริญผล นักสื่อสารประชาสัมพันธ์ นางสาวศุภสุตา แสฃงมณี เลขานุการ และนางสาวจำเนียร กุลนิล และนักศึกษาที่ลงชุมชนได้ร่วมเรียนรู้การดำเนินการหลาด 100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชนคนตำบลแม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา
12 มีนาคม 2566 เวลา 10.00 -16.00 น. ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) คณะทำงานและแกนนำเข้าร่วมประชุม นักศึกษา จำนวน 10 คน ตามที่ได้นัดหมายในกลุ่มไลน์
ผลลัพธ์ (Outcome) คณะทำงาน 5 ท่าน ได้เข้าใจบทบาทของตนเองที่ได้รับมอบหมายในการปฎิบัติหน้าที่ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม นางเตือนจิต ศรีสวัสด์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ชี้แจง ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว เช่น การพบกับกลุ่มเป้าหมาย ในการขับเคลื่อนโครงการให้ทราบ ปัญหา และอุปสรรค ของกลุ่มเป้าหมาย นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ เก็บข้อปัญหาที่พบของกลุ่มเป้าหมาย ที่พบเจอทุกครั้ง คือแมลงศัตรูพืช ซึ่งเป็นปัญหาของการปลูกผักปลอดภัย จึงขอเสนอในที่ประชุม ควรให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ ลงมาตรวจเยี่ยมกลุ่มเป้าหมาย นายธนบดี เจริญผล ได้ชี้แจงว่าในตอนนี้ได้ดำเนินการทำคลิป VDO กลุ่มเป้าหมาย ในการขับเคลื่อนโครงการไปแล้ว และเตรียมการข้อมูลในการทำแผนที่ปลูกผัก ของกลุ่มเป้าหมาย
นางสาวจำเนียรน กุลนิล ได้แนะนำนักศึกษา ที่ลงชุมชน เช่นบริบทของชุมชนเป็นอย่างไร พืชผักส่วนใหญ่ที่ปลูก และตลาดอยู่ที่ไหนบ้างเพื่อเป็นข้อมูลให้กับนักศึกษา และได้นำนักศึกษาได้ลงเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายเพื่อหาข้อมูล โดยลงพบนายไข่ ไชยภักดี ที่ปลูกพืชผักริมคลอง ถนนในชุมชน
นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ได้แบ่งหน้าที่ ของแต่ละท่าน เพื่อเตรียมงานที่จะเกิดขึ้นในครั้งต่อไป ในการอบรมให้ความรู้การทำบัญชีครัวเรือน รายรับ รายจ่าย โดย ให้นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ ประสานงานกลุ่มเป้าหมายล่วงหน้า

 

5 0

17. กิจกรรมที่ 6 อบรมให้ความรู้จัดทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิกกลุ่ม เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการรายรับรายจ่ายของครัวเรือนตัวเอง

วันที่ 20 มีนาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 6 อบรมให้ความรู้ จัดทำบัญชีครัวเรือน ของสมาชิกเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจักการ รายรับรายจ่ายของครัวเรือนตัวเอง พื้นที่วันที่ปฎิบัติ 20 มีนาคม 2566 เวลา 09.30 น.-16.00 น. ณ พื้นที่วัดคูเต่า ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา
ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 35 คน
โดยทางผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ ของการอบรมจัดทำบัญชีครัวเรือน
โดยได้เชิญ วิทยากร นางสาววราภรณ์ แก้วเอก เจ้าหน้าที่การเงินบัญชีสำนักงานครือข่ายองค์กรงดเหล้าภาตใต้ ตอนล่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดขึ้นของผู้เข้าร่วมอบรมเพิ่มความรู้และทักษะในการบริหารเงิน การฝึกฝนในการทำบัญชีครัวเรือนจะช่วยเสริมสร้างความรู้และทักษะในการวางแผนการเงิน การควบคุมรายจ่าย และการออกแบบงบประมาณให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวคุณ

การลดความเสี่ยงในการเกิดหนี้สิน: การทำบัญชีครัวเรือนช่วยให้คุณสามารถตรวจสอบรายรับและรายจ่ายอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงในการตกเป็นหนี้สินหรือบัตรเครดิตที่ยังชำระไม่ครบ

การวางแผนทางการเงินให้มั่นคง: การอบรมการทำบัญชีครัวเรือนจะช่วยให้คุณวางแผนการเงินให้มั่นคงและมีสิทธิในการเตรียมการในกรณีฉุกเฉินหรือสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด

การปรับปรุงสถานะการเงิน: การทำบัญชีครัวเรือนช่วยให้คุณเห็นภาพรวมของสถานะการเงินของครอบครัวคุณ ซึ่งอาจเปิดเผยเรื่องราวที่ควรปรับปรุงและหาวิธีในการพัฒนาสถานะการเงินในอนาคต

สุขภาพจิตที่ดี: การควบคุมการเงินและการวางแผนการใช้เงินที่ดีช่วยลดความกังวลและเพิ่มความมั่นใจในการดำเนินชีวิตของครอบครัว

โดยรวมแล้ว การได้อบรมการทำบัญชีครัวเรือนสามารถช่วยเสริมสร้างทักษะในการบริหารเงินและเพิ่มความมั่นคงในการเงินของครอบครัวของกลุ่มเป้าหมายได้ดี และได้เห็นการเปลี่ยนแปลงของการเงินในครอบครัว และการทำบัญชีการปลูกผัก ต้นทุน รายรับ รายจ่าย โดยทางคณะทำงานได้มอบให้ทั้งหมดของกลุ่มเป้าหมายทำบัญชี และจะลงติดตามเป็นระยะ เพื่อให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง และปัญหาอุปสรรค

 

30 0

18. กิจกรรมที่ 7 การอบรมการทำสารไล่แมลงจากสมุนไพร / สารปรับปรุงดิน เป็นการให้ให้ความการทำสารไล่แมลงจากสมุนไพร และสารปรับปรุงดิน เพื่อประหยัดต้นทุนในการซื้อและปลอดภัยต่อสุขภาพ

วันที่ 24 มีนาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จกรรมที่ 7 อบรมการทำสารไล่แมลงจากสมุนไพร/สารปรับปรุงดิน เป็นการให้ความรู้การทำสารไล่แมลง และสารปรับปรุงดิน เพื่อประหยัดต้นทุนในการซื้อและปลอดภัยต่อสุขภาพ พื้นที่ วันที่ปฎิบัติ 24 มีนาคม 2566 เวลา 09.30 น.-16.00 น. ณ พื้นที่วัดคูเต่า และอาคารอเนกประสงค์ ม.1 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา
ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 34 คน
โดยทางผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ ของการอบรมารทำสารไล่แมลงจากสมุนไพร/สารปรับปรุงดิน
โดยได้เชิญ วิทยากร นางสาวพรพิมล ทวีเศรษฐ เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ และนายวิชาญ ขวัญช่วย ศูนย์จัดการดินปุ๋ยตำบลท่าช้าง ม.10 อ.บางกล่ำ จ.สงขลา มาช่วยแนะนำ ความรู้ในกาารปรุงดินที่ให้เกิดคุณภาพ มีประสิทธิภาพ ตามสูตร และ สารไล่แมลงจากสมุนไพรที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลที่เกิดจากการอบรมการปรุงดินที่มีคุณภาพ  มีหลายประโยชน์ กับผู้เข้ารับการอบรม เช่น การเพิ่มความรู้และทักษะในการปรับปรุงคุณภาพดินที่เกษตรกรสามารถนำไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตของพืช ลดการใช้สารเคมีในการเกษตรกรรม และลดการเสื่อมสภาพของดิน อีกทั้งยังช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืชและสัตว์ในพื้นที่ด้วย
การอบรมคุณภาพดินเป็นสิ่งที่มีความสำคัญในการพัฒนาเกษตรกรรมที่ยั่งยืนและยั่งยืน การอบรมการปรุงดินที่มีคุณภาพยังสามารถช่วยเพิ่มความมั่นใจในการใช้วิธีการปรุงดินที่ถูกต้องและเหมาะสม ช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรมีการบริหารจัดการดินและทรัพยากรทางดินอย่างมีประสิทธิภาพ และอยู่ในกรอบของความยั่งยืน การอบรมยังช่วยเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติอย่างยั่งยืนครับ การอบรมและส่งเสริมการปรุงดินที่มีคุณภาพเป็นสิ่งสำคัญในการส่งเสริมความยั่งยืนในเกษตรกรรมและการจัดการทรัพยากรทางดินเพื่อให้สามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและตลอดจนการเติบโตทางเศรษฐกิจ แนำนำการทำปุ๋ยที่อินทรีย์ เพราะมีประโยชน์อย่างมากมายต่อการเกษตรกรรมและสิ่งแวดล้อม เช่น

เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้ดิน: ปุ๋ยอินทรีย์มีส่วนประกอบที่ช่วยเพิ่มสารอาหารและธาตุอาหารที่สำคัญให้กับดิน ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์และเติบโตของพืชดีขึ้น.

สร้างและส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม: การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยลดการเสื่อมสภาพของดินและลดการสะสมของสารเคมีที่อาจทำให้เกิดการสิ้นประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตในดินและน้ำ.

ส่งเสริมการทำเกษตรกรรมที่ยั่งยืน: การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ส่งเสริมให้เกษตรกรรมมีความยั่งยืนและทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ช่วยให้สามารถปลูกผลผลิตในระยะยาวได้.

ลดการใช้สารเคมี: ปุ๋ยอินทรีย์ไม่มีสารเคมีที่อาจก่อให้เกิดภาวะสิ่งสกปรกในดินและน้ำ ดังนั้นการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยลดการใช้สารเคมีในการเกษตรกรรม.

ส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ: การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ส่งเสริมการมีชีวิตทางชีวภาพในดิน ทำให้สภาพนิเวศของดินและระบบนิเวศที่เกิดขึ้นในสวนเกษตรได้รับประโยชน์มากขึ้น.

ลดการสูญเสียของน้ำและลดการระบายน้ำ: ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์จะช่วยเพิ่มความสามารถในการเก็บรักษาน้ำและลดการระบายน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้น้ำนิ่งเกาะอยู่ในดินและสามารถให้ประโยชน์ต่อพืชได้อย่างดี.

ลดการต่อสู้กับแมลงศัตรูพืช: ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยเสริมสร้างความสมดุลในระบบนิเวศ ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดจากการระบาดของแมลงศัตรูพืช.

ส่งเสริมความสวยงามของพืช: การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ช่วยเพิ่มความสวยงามและความสมบูรณ์ในการเจริญเติบโตของพืชในสวน การทำสารไล่แมลงจากสมุนไพรเป็นวิธีที่น่าสนใจและเป็นทางเลือกที่คนบางคนเลือกใช้เพื่อป้องกันและควบคุมแมลงที่รบกวนในบริเตนหรือสวนของพวกเขา การใช้สมุนไพรในการไล่แมลงอาจเป็นไปได้ด้วยความสะดวกสบายและไม่ใช้สารเคมีที่อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือสัตว์อื่น ๆ

การทำสารไล่แมลงด้วยสมุนไพรอาจมีประสิทธิภาพที่ต่ำกว่าสารเคมีที่พบในตลาด และอาจใช้เวลาและความอดทนในการใช้งานมากขึ้น แต่สำหรับคนที่ต้องการใช้วิธีธรรมชาติหรือไม่ต้องการใช้สารเคมีในพื้นที่ การใช้สมุนไพรในการไล่แมลงอาจเป็นตัวเลือกที่น่าสนใจในการทดลองและใช้ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
นอกจากการใช้สมุนไพรในการไล่แมลงแล้ว ยังมีวิธีอื่น ๆ ที่สามารถใช้เพื่อป้องกันและควบคุมแมลงในสวนของคุณด้วยวิธีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น

การทำความสะอาดและเก็บขยะเพื่อลดที่อาศัยและอาหารสำหรับแมลงที่อาจดึงดูดไปยังพื้นที่

การใช้กลุ่มแมลงศัตรูธรรมชาติ: นำเข้าแมลงศัตรูที่เป็นธรรมชาติที่ช่วยควบคุมแมลงที่รบกวนได้ เช่น แมลงไข่ไส้เดือนหรือแตนเบียน

การใช้แสงสว่าง: การใช้แสงสว่างที่มากพออาจช่วยไล่แมลงที่บินมาในพื้นที่

การใช้ทิศทางต่าง ๆ ที่น้ำหรืออากาศลมอาจช่วยในการพาแมลงที่รบกวนห่างออกไป

วิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงศัตรูพืชที่เหมาะสมสำหรับสวนต่างๆนั้น ที่จะดำเนินการด้วยวิธีใด ๆก็ตาม ต้องดูถึงความเหมาะสม และอาจต้องผสมผสานหลายวิธีเพื่อควบคุมปัญหาแมลงอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการป้องกันไว้ในระยะยาว เพราะสารไล่แมลงจากสมุนไพรคุณภาพและประสิทธิภาพจะน้อยกว่าการใช้สารเคมี แต่ไม่อันตรายกับผู้บริโภค

 

30 0

19. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนพฤษภาคม 2565 (ครั้งที่ 5)

วันที่ 13 พฤษภาคม 2023 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ไลน์ ขอเชิญประชุมคณะทำงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร บัญชี การเงิน นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ นางสาวจำเนียร กุลนิล นางมาลินี นวลจันทร์ และที่ปรึกษาโครงการ นายชาญวิทูร สุขสว่างไกร 13 พฤษภาคม 2566 เวลา 10.00 -16.00 น. ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า 33/3 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) คณะทำงานและแกนนำเข้าร่วมประชุม จำนวน 6 คน ผลลัพธ์ (Outcome) คณะทำงาน 5 ท่าน ได้เข้าใจบทบาทของตนเองที่ได้รับมอบหมายในการปฎิบัติหน้าที่ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม นางเตือนจิต ศรีสวัสด์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ชี้แจง ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว พร้อมข้อมูลเพิ่มเติม สามารถปลูกผักได้ เพราะเป็นช่วงร้อน ซึ่งส่วนใหญ่กลุ่มเป้าหมายจะนำผักกินยอดมาขายที่ตลาดนัด และมีคนมาซื้อที่บ้านและเจ้าประจำมารับไปขายต่อ นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ได้แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการประชุมสมาชิกเพื่อจดแจ้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ในวันที่ 17 พฤษภาคม 2566 ดังนี้ ให้ทางเลขาทำหนังสือเชิญสมาชิกเข้าร่วมประชุมด้วย และเชิญทาง อบต. ผู้ใหญ่บ้าน ด้วย นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ /นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ประสานสมาชิกให้เข้าร่วมประชุม นางมาลินี นวลจันทร์ ให้เตรียมเรื่อง อาหารกลางวัน และเบรก นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร เตรียมเอกสารการลงทะเบียน และการเงิน บัญชี ให้เรียบร้อย สำหรับท่านอื่นๆ ให้เตรียมเรื่องสถานที่ประชุม และอำนวยความสะดวก ส่วนวิทยากร ควรจะเป็นนายชาญวิทูร สุขสว่างไกร เพราะเข้าใจดี การในการจดวิสาหกิจชุมชนฯ หรือทางสำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ

 

5 0

20. กิจกรรมที่ 10 เวทีประชุมจัดทำปฏิทินผลผลิตทางการเกษตร และแผนเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติวิถีชีวิตของพื้นที่

วันที่ 16 พฤษภาคม 2023 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 35 คน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสงขลา พัฒนาการอำเภอบางกล่ำ และสำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ
จัดเวทีประชุมเวทีจัดทำปฎิทินผลิตผลิตทางการเกษตร และแผนที่เส้นทางท่องเที่ยวเชิงเกษตร 16 พฤษภาคม 2566 เวลา 10.00 -16.00 น. ณ อาคารอเนกประสงค์ริมคลอง ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสงขลา พัฒนาการอำเภอบางกล่ำ และสำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ มารับฟังในการจัดเวที และลงเยี่ยมชมแหล่งการปลูกผักปลอดภัยในพื้นที่ โดยทางนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ เป็นกล่าวรายงานความคืบหน้าของการดำเนินโครงการ หลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชนคนตำบลแม่ทอม พร้อมได้เสนอการจัดทำปฎิทินผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ตำบลแม่ทอม พร้อมทั้งได้นำลงเยี่ยมพื้นที่ปลูกผัก จากผลของการดำเนินงานของโครงการ 100 ปีสุขภาพดีวิถีชุมชนคนตำบลแม่ทอม ทำให้ นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ได้รับการคัดเลือก อาสาพัฒนาชุมชนหญิงดีเด่น(อช.)ระดับจังหวัดสงขลา
และทางสำนักงานเกษตร ได้นำแผนที่ และปฎิทินการปลูก ไปนำเสนอแนวทางในการจัดทำแผนที่ และปฎิทินการปลูก ให้กับพื้นที่อื่นๆอีกด้วย กลุ่มเป้าหมายได้ร่วมกันวิเคราะห์ผักที่ปลูกได้ในแต่ละเดือน และผักที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ ตามฤดูกาล ที่สามารถนำเอาไปขายที่ตลาดได้ และปลอดภัยลงไปปฎิทินการปลูกผัก

 

30 0

21. กิจกรรมที่ 11 จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและแผนการตลาด

วันที่ 17 พฤษภาคม 2023 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ผู้จัดกิจกรรม : นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กลุ่มเป้าหมาย : คณะทำงานและกลุ่มภาคีเครือข่าย จำนวน 27 คน วิทยากร : นายชาญวิทูร สุขสว่างไกร วันที่ 17 พฤษภาคม 2566 เวลา 9.00 น.-16.00. น.วัดคูเต่า หมู่ 3 ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจฯ  2. เพื่อเกิดแผนการตลาด  3. เพื่อได้เข้าใจการขับเคลื่อนงานในอนาคตต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) ที่เกิดขึ้นจริง (ใคร ทำอะไร ที่ไหน อย่างไร)
รายงานผลการจัดกิจกรรมที่ 11 ผลิตสื่อ จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และแผนการตลาด วันที่ 17 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น. - 16.00 น. ณ วัดคูเต่า ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วม จำนวน 20 คน แต่มีผู้เข้าร่วม 27 ท่านร่วมทั้งวิทยากร

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 1.กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมการประชุม ชี้แจงวัตถุประสงค์ ความสำคัญ ของโครงการ โดยนางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ (ผู้รับผิดชอบโครงการ) 2.เปิดเวทีชี้แจงโครงการให้แก่กลุ่มเป้าหมายเข้าใจในการขับเคลื่อนกิจกรรม 3.วิทยากรโดยนายชาญวิทูร สุขสว่างไกร นำเสนอ ข้อดี และข้อเสียในการจัดตั้งกลุ่ม และการจดแจ้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อหาทางออกร่วมกันในการดำเนินกิจกรรม หลาด100 ปีสุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา เมื่อทางผู้เข้าร่วมได้เข้าใจในวัตถุประสงค์แล้ว จึงเกิดข้อตกลงร่วมกันที่จะจดแจ้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ที่ประชุมได้สรุปดังนี้ ที่ประชุมเสนอตั้งชื่อกลุ่ม 1. วิสาหกิจชุมชนคนรักษ์สุขภาพตำบลแม่ทอม 2 วิสาหกิจชุมชนรักษ์สุขภาพตำบลแม่ทอม 3.วิสาหกิจชุมชนคนตำบลแม่ทอมรักสุขภาพ สรุปที่ประชุม รับรอง วิสาหกิจชุมชนคนรักษ์สุขภาพตำบลแม่ทอม จำนวน 15 เสียง วิสาหกิจชุมชนรักษ์สุขภาพตำบลแม่ทอม จำนวน 2 เสียง
วิสาหกิจชุมชนคนตำบลแม่ทอมรักสุขภาพ จำนวน 6 เสียง สรุปชื่อ วิสาหกิจชุมชนคนรักษ์สุขภาพตำบลแม่ทอม
คณะกรรมการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนคนรักษ์สุขภาพตำบลแม่ทอม ดังนี้ 1.นางสาวจำเนียร กุลนิล ประธาน 2.นายธวัช จินดาดำ รองประธาน 3.นางสาวกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ 4. นางปิยพัทธ์ แก้วฐิติพงศ์ เหรัญญิก 5.นางสมคิด พันคง ประชาสัมพันธ์ 6.นางชฏาพร ศรีธรรมการ กรรมการ 7.นางสาวมาลินี นวลจันทร์ กรรมการ 8. นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ กรรมการ 9.นางยุวดี อินทนิล กรรมการ 10. นางนิคม อินทนิล กรรมการ และท่านอื่นเป็นสมาชิกกลุ่ม แผนการตลาด ให้สมาชิกปลูกพืชตามปฏิทินการปลูกของตำบลแม่ทอมด้วย จะได้ไปตามแผนที่ทางกลุ่มได้วางไว้ด้วย

งบประมาณ 4,400 บาท

 

30 0

22. ประชุมติดตาม ประเมินโครงการ ARE ครั้งที่ 2

วันที่ 3 กรกฎาคม 2023 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ไลน์ ขอเชิญประชุมคณะทำงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร บัญชี การเงิน นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ นางสาวจำเนียร กุลนิล นางมาลินี นวลจันทร์ นายธนบดี เจริญผล นางสาวศุภสุตา แสงมณี และที่ปรึกษาโครงการ นายชาญวิทูร สุขสว่างไกร เพื่อเตรียมข้อมูลแลกเปลี่ยนเรียนรู้ครั้งที่ 2 3 กรกฎาคม 2566 เวลา 10.00 -16.00 น. ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า 33/3 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) คณะทำงาน และแกนนำเข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน ตามที่ได้นัดหมายในกลุ่มไลน์
ผลลัพธ์ (Outcome) คณะทำงาน 5 ท่าน ได้เข้าใจบทบาทของตนเองที่ได้รับมอบหมายในการปฎิบัติหน้าที่ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม นางเตือนจิต ศรีสวัสด์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ชี้แจง ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว เช่น การเก็บข้อมูล การพบกับกลุ่มเป้าหมาย ในการขับเคลื่อนโครงการ ปัญหา และอุปสรรค ของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งครั้งนี้ ทางคณะทำงานได้มาทบทวน บันไดผลลัพธ์ของโครงการ ว่าเป็นตามเป้าหมาย หรือไม่
เช่น แกนนำมีความรู้การบริหารโครงการมีมีใครบ้าง มีความรอบรู้เรื่องสุขภาพ และการเงินเป็นใครบ้าง แกนนำที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และการเงินเป็นใครบ้าง อาชีพที่เกิดจากการดำเนินโครงการ อาชีพคือการทำอาชีพอะไร จากการขับเคลื่อนของโครงการเรา และพร้อมนำไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลสำเร็จทางด้านอาชีพ รายได้เพิ่มขึ้นหรือไม่ ภาคีเครือข่ายมีใครบ้างที่เข้ามาเกี่ยวข้อง ฯลฯ และอะไรที่ยังไม่สำเร็จ แต่ต้องรีบดำเนินการเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ตั้งไว้
จากการประชุม ทางคณะทำงานได้วิเคราะห์และร่วมกันสรุปตามกรอบแนวทางทาง ที่ทางพี่เลี้ยง และสสส.ได้กำหนดไว้เป็นที่เรียบร้อย

 

0 0

23. กิจกรรมที่ 12 พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่ และพัฒนาปรับภูมิทัศน์ สร้างร้านค้าผักปลอดภัยในชุมชน

วันที่ 6 กรกฎาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 34 คน
การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่ และพัฒนาปรับภูมิทัศน์ สร้างร้านค้าผักปลอดภัยในตลาดชุมชนวัดคูเต่า 6 กรกฎาคม 2566 เวลา 8.00 -16.00 น. ณ ตลาดนัด 100 ปี วัดคูเต่า ม.3 และแหล่งเรียนรู้ปลูกผัก ใน ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ คณะทำงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ได้ประชุมเพื่อพิจารณาเลือกแหล่งเรียนรู้เชิงเกษตรวิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม จากผู้เข้าร่วมโครงการ 31 คน เมื่อคณะทำงานได้พิจารณาแล้ว ได้เลือก 4 แหล่ง ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และสามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ได้ในอนาคต ที่เป็น แหล่งเรียนรู้ปลูกผักปลอดภัย 1. นางสาวจำเนียร กุลนิล หมู่ 3 2. นายธวัช จินดาดำ หมู่ 5 3.นางยุวดี อินทนิล หมู่ 2 4. นางสมคิด พันคง หมู่ 1 ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
การพัฒนาตลาดชุมชน เกิดจากความต้องการของชุมชนในการซื้อขายสินค้าและบริการใกล้บ้าน เช่น การต้องการซื้อสินค้าจากร้านค้าในพื้นที่ใกล้เคียง หรือความต้องการในการส่งเสริมการค้าในชุมชนท้องถิ่น การพัฒนาตลาดชุมชนยังอาจเกิดจากความร่วมมือของธุรกิจในพื้นที่ท้องถิ่นที่เชื่อมต่อกันเพื่อเสริมสร้างโอกาสในการขายสินค้าและบริการในระดับชุมชน อาจเป็นการร่วมกันสร้างพื้นที่ตลาดร่วมในพื้นที่ที่เหมาะสม การพัฒนาตลาดชุมชนยังอาจเกิดขึ้นจากนโยบายขององค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทอม เช่นกันที่อยากเห็นร้านค้าในตลาดที่ขายผักปลอดภัย และเป็นการ่วมมือสนับสนุนเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจในพื้นที่ของตำบลแม่ทอม เป็นการเพิ่มโอกาสในการส่งเสริมการท่องเที่ยวและสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกด้วย สิ่งที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาตลาดชุมชน เป็นการสร้างโอกาสใหม่ๆในการทำธุรกิจและเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ กระตุ้นการเติบโตของเศรษฐกิจท้องถิ่น พร้อมทั้งเกิดความมั่นใจ ของผู้บริโภคที่จะได้ผักที่ปลอดภัย ไม่มีสารเคมีเจือปน
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์เป็นกระบวนการที่มีความสำคัญในการส่งเสริมความรู้และทักษะทางการเกษตรอินทรีย์ให้กับชุมชนเกษตรกรและผู้สนใจที่ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการเกษตรที่ยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจในเรื่องเกษตรอินทรีย์ให้กับชุมชนเกษตรกรและผู้สนใจที่สนใจในเรื่องนี้ และการพัฒนาแหล่งเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ยังสามารถมีองค์กร หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยเสริมสร้างความเข้าใจและทักษะให้กับชุมชนเกษตรกรและผู้สนใจเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ อาจเป็นองค์กรภาครัฐหรือเอกชนที่ให้การสนับสนุนทางการเงินหรือทรัพยากรที่ช่วยส่งเสริมให้แหล่งเรียนรู้ ดังกล่าวสามารถเติบโตและเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้เกษตรอินทรีย์ได้ ในอนาคต

 

30 0

24. งบบริหารโครงการ

วันที่ 15 กรกฎาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ และนางกลอยใจ  ธรรมสุรินทร์ คณะทำงาน ร่วมประชุมเวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงาน โครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 พื้นที่ ภาคใต้ ระหว่างวันที่ 15-16 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมเซาเทิร์นอแร์พอร์ต อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สนับสนุนโดยสำนักสร้างสรรค์โอกาส สสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลลัพธ์ และบทเรียนการดำเนินงานโครงการแต่ละโครงการ โดยนำผลลัพธ์ 26 ข้อ มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้คนแบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ และไอเดียกัน เข้าร่วมกิจกรรมสัมมนา อบรม หรือการสนทนากับผู้อื่นเป็นต้น เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะใหม่ ๆ อีกทั้งยังสร้างความร่วมมือและเชื่อมโยงความรู้ร่วมกันด้วย การแลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถเกิดขึ้นผ่านการพูดคุย การสื่อสารหรือการเขียน ผ่านการแลกเปลี่ยนเหล่านี้ เราสามารถเรียนรู้จากความหลากหลายและความรู้ของผู้คนอื่น ๆ ได้มาก และเสริมสร้างความรู้ของเราเองอีกด้วย

 

0 0

25. ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนกรกฎาคม 2565 (ครั้งที่ 6)

วันที่ 21 กรกฎาคม 2023 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ไลน์ ขอเชิญประชุมคณะทำงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร บัญชี การเงิน นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ นางสาวจำเนียร กุลนิล นางมาลินี นวลจันทร์ นายธนบดี เจริญผล นางสาวศุภสุตา แสงมณี และที่ปรึกษาโครงการ นายชาญวิทูร สุขสว่างไกร 21 กรกฎาคม 2566 เวลา 10.00 -16.00 น. ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนสมุนไพรคุณธรรมวัดคูเต่า 33/3 ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต (Output) คณะทำงาน และแกนนำเข้าร่วมประชุม จำนวน 10 คน ได้เข้าใจบทบาทของตนเองที่ได้รับมอบหมายในการปฎิบัติหน้าที่ ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม นางเตือนจิต ศรีสวัสด์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ชี้แจง ที่ได้ดำเนินการไปแล้ว พร้อมข้อมูล ซึ่งวันนี้ที่ได้ประชุมคณะกรรมการ นั้นเพื่อกำหนดเวทีประชุมถอดบทเรียน และสรุปโครงการ นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ได้แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
ในการประชุม ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2566 ดังนี้
ให้ทางเลขาทำหนังสือเชิญสมาชิกเข้าร่วมประชุมด้วย และเชิญทาง อบต. ผู้ใหญ่บ้าน และสำนักงานเกาตรอำเภอบางกล่ำ และพัฒนาชุมชนอำเภอบางกล่ำ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
นางกลอยใจ ธรรมสุรินทร์ /นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ประสานสมาชิกให้เข้าร่วมประชุม นางสาวจำเนียร กุลนิล ให้เตรียมเรื่อง อาหารกลางวัน และเบรก นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร เตรียมเอกสารการลงทะเบียน และการเงิน บัญชี ให้เรียบร้อย สำหรับท่านอื่นๆ ให้เตรียมเรื่องสถานที่ประชุม และอำนวยความสะดวก ส่วนวิทยากรกระบวนการนั้น นายชาญวิทูร สุขสว่างไกร เพราะเข้าใจกระบวนการดำเนินโครงการ หรือทางสำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ ส่วนงานประชาสัมพันธ์นั้น ให้ทางนายธนบดี เจริญผล และ นางสาวศุภสุตา แสงมณี นำมาเสนอในที่ประชุมด้วย เช่น ปฎิทินการปลูกผักของตำบลแม่ทอม แผ่นที่พื้นที่ปลูกผักปลอดภัย คลิป วี ดี โอ ต่างๆ ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2566 ต้องมีการเสนอแผนงานที่ประชุม ที่ขับเคลื่อนต่อในอนาคต ด้วย ที่ประชุมเสนอแผนงานโครงการ ดังนี้ การทำปุ๋ย และปรุงดิน การเลี้ยงไส้เดือน เพื่อประโยชน์ทางการเกษตร และการศึกษาดูงานพื้นที่สำเร็จในการดำเนินการปลูกผักปลอดภัย

 

5 0

26. กิจกรรมที่ 13 ประชุมถอดบทเรียน และสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 23 กรกฎาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้มอบบทบาทหน้าที่ให้คณะทำงานดำเนินการ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง ในการจัดประชุม ประกอบด้วย สมาชิกกลุ่มเป้าหมาย 41 คน  ร่วมด้วยทางสำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ และนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนสงขลามาเรียนรู้ชุมชน กระบวนการดำเนินโครงการที่ผ่านมาเพื่อการเรียนรู้ชุมชนอย่างยั่งยืน
เวที่ประชุมถอดบทเรียน และสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ หลาด 100 ปี สุภาพดี วิถีชุมชน
23 กรกฎาคม 2566 เวลา 9.00 -16.30 น. ณ อาคารอเนกประสงค์ริมคลองอู่ตะเภา ม.3 ต.แม่ทอม อ.บางกล่ำ จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ชี้แจงในกิจกรรมของโครงการที่ผ่านมา จนกระทั่งสิ้นสุดโครงการ ณ วันนี้
ผู้เข้าร่วมโครงการ 31 คน
คณะกรรมการพิจารณาแหล่งเรียรู้ 4 แหล่ง ประกอบด้วย1. นางสาวจำเนียร กุลนิล หมู่ 3 2. นายธวัช จินดาดำ หมู่ 5 3.นางยุวดี อินทนิล หมู่ 2 4. นางสมคิด พันคง หมู่ 1 ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
ร้านค้าในตลาดนัด 100 ปี วัดคูเต่าที เป็นร้านที่เข้าร่วมโครงการ 8 ร้าน คลิป วี ดี โอ ที่เริ่มโครงการและสิ้นสุดโครงการ 3 คลิป สามารถดูได้จาก เพจหลาด 100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ต.แม่ทอม
ได้จดแจ้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ชื่อวิสาหกิจชุมชนคนรักษ์สุขภาพตำบลแม่ทอม กับทางสำนักงานเกษตร อำเภอบางกล่ำ การเปลี่ยนแปลงของกลุ่มสมาชิก ทัศนะในการปลูกผักปลอดภัยนั้นได้เปลี่ยนไป เข้าใจกระบวนการที่ผ่านการเปลี่ยนแปลงตามความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี แนวคิดทางระบบ และนวัตกรรมในการจัดการความปลอดภัย การเปลี่ยนแปลงรูปธรรมของการปลูกปลอดภัยอาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีที่ล้ำสมัยเข้ามาช่วยในการตรวจจับและป้องกันอันตราย การพัฒนากระบวนการฝึกอบรมที่ทันสมัยและการเสริมสร้างความตระหนักในเรื่องความปลอดภัยก็เป็นส่วนสำคัญของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว นอกจากนี้ การปรับปรุงข้อกำหนดและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยเพื่อทำให้เข้ากับบริบทที่เปลี่ยนแปลง และการให้ความสำคัญกับการเรียนรู้จากประสบการณ์และความผิดพลาด การวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการที่ไม่ถูกต้องเพื่อป้องกันการเกิดเหตุการณ์อันตรายในอนาคตเป็นสิ่งสำคัญอีกด้วย การส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของคนในองค์กรในกระบวนการปลูกปลอดภัยเป็นปัจจัยที่ช่วยเสริมความสำเร็จในการเปลี่ยนแปลงรูปธรรมด้วย และ การตรวจสอบและปรับปรุงข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการปลูกปลอดภัยเพื่อให้มั่นใจว่ามีความถูกต้องและเป็นปัจจุบัน อุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการปลูกปลอดภัยเป็นสิ่งที่ไม่ควรมองข้าม เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถทำงานอย่างเหมาะสมและปลอดภัยในสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เป็นเครือข่าย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้เห็นถึงความสำคัญในประเด็นดังกล่าว เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลแม่ทอม สำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ พัฒนาชุมชนอำเภอบางกล่ำ และที่ว่าการอำเภอบางกล่ำ ทางนายอำเภอ กำหนดเป็นนโยบายการปลูกผักปลอดภัย ของอำเภอบางกล่ำ มหาวิทยาลัยฯต่างๆ ที่ส่งนักศึกษาต่างๆมาเรียนรู้ชุมชน มีแผนการพัฒนา ต่อเนื่องโดย ทางกลุ่มวิสาหกิจคนรักษ์สุขภาพตำบลแม่ทอม ได้เสนอโครงการ การเลี้ยงไส้เดือน เพื่อใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ให้กับสำนักงานเกษตรอำเภอบางกล่ำ ปฎิทินการปลูกผักตำบลแม่ทอม แผนที่พื้นที่ปลูกผักปลอดภัยในตำบลแม่ทอม 31 พื้นที่ ลิ้งคลิปกิจกรรม เพจ หลาด 100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม : https://www.facebook.com/profile.php?id=100086160560881

 

40 0

27. พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบบัญชี การเงิน

วันที่ 7 สิงหาคม 2023 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ หลาด 100 ปีสุขภาพวิถีชุมชนคนตำบลแม่ทอม ได้มอบหมายให้คณะทำงาน นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร รับผิดชอบงานบัญชีการเงิน เข้าพบพี่เลี้ยงโครงการ ในวันที่ 7 สิงหาคม 2566 ณ สำนักงาน สมาคมอาสาสร้างสุข ถ.ปุณณกัณฑ์ ตำบลคองหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร รับผิดชอบงานบัญชีการเงิน  ได้เข้าปรึกษาการทำบัญชี การเงิน โดยนำเอกสารที่การเงิน ไปให้ทางพี่เลี้ยงโครงการตรวจสอบความถูกต้อง และจุดที่ต้องแก้ไข ซึ่งทำให้เกิดความเข้าใส่ในการกรอกข้อมูลบัญชีการเงิน พร้อมได้ทำการแก้ไขที่ทางพี่เลี้ยงได้แนะนำ  ทางผู้รับผิดชอบบัญชี การเงิน สามารถดำเนินการเป็นที่เรียบร้อยตามระเบียบที่ทาง สสส.ได้กำหนดไว้

 

0 0

28. งบบริหารโครงการ จัดทำรายงาน

วันที่ 18 สิงหาคม 2023 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ ผู้รับผิดชอบโครงการ หลาด 100 ปีสุขภาพวิถีชุมชนคนตำบลแม่ทอม ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ที่ได้รับงบประมาณโครงการ จากสำนักสร้างสรรค์โอกาส สสส. ผ่านมายังสมาคมอาสาสร้างสุขด โดยได้มอบหมายให้คณะทำงาน นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร รับผิดชอบงานบัญชี การเงิน เป็นคนบันทึกรายงานกิจกรรมของโครงการ ตั้งแต่เริ่มโครงการ จนกระทั่งสิ้นสุดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นางสาวเกวลิน สุขสว่างไกร รับผิดชอบงานบัญชี การเงิน ที่ได้รับมอบหมาย ให้เป็นผู้รับผิดชอบการบันทึกรายงานกิจกรรมของโครงการ หลาด 100 ปีสุขภาพวิถีชุมชนคนตำบลแม่ทอม ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลกิจกรรมของโครงการ เช่น ภาพกิจกรรม ผู้เข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม และการลงบันทึกบัญชี การเงิน ลงในระบบเป็นที่เรียบร้อย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตวิถีใหม่
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะทำงานในการขับเคลื่อนโครงการ 1. มีคณะทำงานจำนวน 5 ท่าน ที่มีการกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน 2. เกิดแนวทางในการขับเคลื่อนตามแผนงานของโครงการ
5.00

 

2 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตวิถีใหม่
ตัวชี้วัด : 1.2 เกิดการรวมกลุ่มในการกำหนดกติการ่วมกัน 1. เกิดการวิเคราะห์ สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ 2. มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 ท่าน 3. เกิดกติกา ข้อตกลงร่วมกันภายในกลุ่ม 4. เกิดข้อมูลบริบทชุมชน / แผนที่เพาะปลูกในชุมชน 5. เกิดข้อมูล ปัญหาและอุปสรรค พร้อมแนวทางการแก้ไขปัญหา 6. เกิดภาคีความร่วมมือ 5 ภาคี
5.00

 

3 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการจัดการ ผลักดันการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจและต่อยอดสู่ตลาดชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดแผนการดำเนินงาน 1. เกิดผลิตภัณฑ์สารไล่แมลงจากสมุนไพร 1 ผลิตภัณฑ์ 2. เกิดผลิตภัณฑ์แปรูปใหม่ 1 ผลิตภัฑณ์ ได้แก่ ผักทอดพร้อม Packaging 3. เกิดการสร้างสื่อผ่านสื่อ Online จำนวน 1 ช่องทาง 4. เกิดปฏิทินผลผลิตของชุมชน 5. เกิดองค์ความรู้ ทักษะในการขับเคลื่อนงานชุมชน
30.00

 

4 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการจัดการ ผลักดันการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจและต่อยอดสู่ตลาดชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.2 เกิดวิสาหกิจชุมชนและร้านค้าในตลาดสำหรับการขายสินค้าภายชุมชน 1. เกิดแผนธุรกิจชุมชน 2. การจัดทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิกกลุ่ม 3. เกิดแหล่งเรียนรู้ด้านเกษตรปลอดภัยและอื่นๆ 4 แห่ง 4. เกิดวิสาหกิจชุมชน 1 แห่ง 5. เกิดร้านค้าในตลาดชุมชน 1 ร้าน 6. ร้านค้าในตลาดมีรายได้ ต่อเดือน 5,000 – 10,000 บาท
30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงานโครงการ 5
ผู้สูงอายุ คนพิการ คนว่างงาน และผู้ที่ได้รับผลกระท 25

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตวิถีใหม่ (2) 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะด้านการเงิน สุขภาพ และสังคม เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตวิถีใหม่ (3) 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการจัดการ ผลักดันการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจและต่อยอดสู่ตลาดชุมชน (4) 2. เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการการจัดการ ผลักดันการจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจและต่อยอดสู่ตลาดชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการ และ สสส. (2) ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน ก่อนและหลังดำเนินกิจกรรม ทุก  2 เดือน และสื่อสารการทำงานผ่านกลุ่มไลน์อย่างสม่ำเสมอ (3) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงานทำความเข้าใจภาพรวมโครงการพร้อมจัดตั้งคณะทำงานกำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนในการขับเคลื่อนโครงการ (4) กิจกรรมที่ 3 ลงพื้นที่สำรวจกลุ่มเป้าหมาย เพื่อเชิญชวนคนในชุมชนที่เป็นพื้นที่เป้าหมายเข้าร่วมโครงการ (5) กิจกรรมที่ 4 เวทีชี้แจงการวัตถุประสงค์ของโครงการร่วมกับผู้เข้าร้วมโครงการเพื่อหาแนวทางสร้าง กติการ่วมกัน กับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ (6) กิจกรรมที่ 5 ลงพื้นที่เก็บข้อมูล ปัญหา อุปสรรค เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนการ (7) เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานรากในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤติโควิด 19 พื้นที่ภาคใต้ (8) กิจกรรมที่ 9 อบรมผลิตสื่อ Online เพื่อการตลาด เปิดช่องทางการขยายตลาดที่หลากหลายมากขึ้น (9) กิจกรรมที่ 6 อบรมให้ความรู้จัดทำบัญชีครัวเรือนของสมาชิกกลุ่ม เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการรายรับรายจ่ายของครัวเรือนตัวเอง (10) กิจกรรมที่ 10 เวทีประชุมจัดทำปฏิทินผลผลิตทางการเกษตร และแผนเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติวิถีชีวิตของพื้นที่ (11) กิจกรรมที่ 8 การอบรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การออกแบบผลิตภัณฑ์ และวิธีการทำผักทอดที่จะเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้น (12) กิจกรรมที่ 7 การอบรมการทำสารไล่แมลงจากสมุนไพร / สารปรับปรุงดิน เป็นการให้ให้ความการทำสารไล่แมลงจากสมุนไพร และสารปรับปรุงดิน เพื่อประหยัดต้นทุนในการซื้อและปลอดภัยต่อสุขภาพ (13) กิจกรรมที่ 12 พัฒนาศูนย์เรียนรู้ในพื้นที่ และพัฒนาปรับภูมิทัศน์ สร้างร้านค้าผักปลอดภัยในชุมชน (14) กิจกรรมที่ 11 จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนและแผนการตลาด (15) กิจกรรมที่ 13 ประชุมถอดบทเรียน และสรุปผลการดำเนินงาน (16) ปฐมนิเทศ (17) ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนกันยายน 2565 (ครั้งที่ 1) (18) ประชุมคณะทำงานเพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน จากพี่้เลี้ยงโครงการ หลาด100 ปี สุขภาพดีวิถีชุมชน ต.แม่ทอม (19) ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565 (ครั้งที่ 2) (20) อบรมการรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน (21) ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนมกราคม 2565  (ครั้งที่ 3) (22) ประชุมติดตาม ประเมินโครงการ ARE (23) กิจกรรมถอนเงินออกจากบัญชี (24) ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนมีนาคม 2565  (ครั้งที่ 4) (25) ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนพฤษภาคม 2565  (ครั้งที่ 5) (26) ประชุมติดตาม ประเมินโครงการ ARE ครั้งที่ 2 (27) งบบริหารโครงการ (28) ประชุมคณะทำงาน ประจำเดือนกรกฎาคม 2565  (ครั้งที่ 6) (29) พบพี่เลี้ยงเพื่อตรวจสอบการเงิน (30) งบบริหารโครงการ จัดทำรายงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหลาด 100 ปี สุขภาพดี วิถีชุมชน ตำบลแม่ทอม อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-10018-31

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเตือนจิต ศรีสวัสดิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด