directions_run

โครงการสร้างแหล่งอาหารชุมชน คนบ่อยางสร้างเงิน ตำบลบ่อยาง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะด้านการเงิน และการบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : ผลลัพธ์ 1.1 คณะทำงานโครงการที่มีความสามารถในการขับเคลื่อนงานโครงการและเกิดข้อตกลงร่วมกัน ตัวชี้วัด 1. เกิดคณะทำงานที่มาจากการคัดเลือกของกลุ่มเป้าหมาย อย่างน้อย 5คน 2. มีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และมีการประชุมสรุปผลการดำเนินงานทุกเดือน 3. เกิดกลไกหรือองค์กรเชื่อมโยงกล่มอาชีพ 4. เกิดข้อตกลงร่วมกันในการขับเคลื่อนโครงการเพื่อไปให้ถึงวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้
40.00

 

2 เพื่อพัฒนากลุ่มเศรษฐกิจชุมชนโดยใช้รูปแบบการทำงานในพื้นที่จริงของชุมชนเมืองบ่อยาง
ตัวชี้วัด : 2 1 เกิดกลไกกลางการรวมกลุ่มอาชีพ พร้อมทำแผนการทำงานที่ชัดเจนตามที่วางไว้ 1. เกิดผลผลิตของแต่กลุ่มอาชีพ เช่น - การปลูกผัก - ปลาแดดเดียว - การเปิดร้านค้าขายผลผลิตและสินค้าของแต่ละกลุ่มอาชีพ 2.มีข้อมูลกลุ่มอาชีพ แหล่งทุนในชุมชน แผนที่ทรัพยากร พร้อมข้อมูลกลุ่มเปราะบางที่ต้องได้รับความช่วยเหลือในชุมชน 3.มีแผนในการดำเนินธุรกิจกลุ่มอาชีพและแผนการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางในชุมชนเพื่อคืนกำไรสู่สังคม
40.00

 

3 เพื่อดำเนินกิจการการผลิต การแปรรูปการสร้างช่องทางการตลาดและการเงิน ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนไปสู่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและจับต้องได้
ตัวชี้วัด : 3.1 เกิดแหล่งอาหารชุมชน ครัวเรือนเป้าหมายมีความรอบรู้ด้านการเงินและเกิดช่องทางการตลาดแบบใหม่ 1. เกิดผลผลิตอย่างน้อยจำนวน4 อาชีพ ที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่กลุ่มเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 2. เกิดกลุ่มไลน์ เพจ ในการขายสินค้า 3. ครัวเรือนเป้าหมายมีความรอบรู้ทางการเงินไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
3.10

 

4 เพื่อดำเนินกิจการการผลิต การแปรรูปการสร้างช่องทางการตลาดและการเงิน ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนไปสู่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและจับต้องได้
ตัวชี้วัด : 3.2 เกิดแผนธุรกิจดำเนินการสนับสนุนดำเนินการกลุ่มอาชีพ 1. กลุ่มอาชีพมีรายได้เพิ่มขึ้น 60% จากการประกอบอาชีพ 2. รายได้ช่วยเหลือสังคม10% ของกำไร 3. กลุ่มเปราะบางได้รับการช่วยเหลืออย่างน้อย 8 รายใน 8ชุมชน
3.20

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คนพิการ 1
ผู่สูงอายุ 11
แม่เลี้ยงเดี่นว 4
แรงงานนอกระบบ 24

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้มีความรู้และทักษะด้านการเงิน และการบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ (2) เพื่อพัฒนากลุ่มเศรษฐกิจชุมชนโดยใช้รูปแบบการทำงานในพื้นที่จริงของชุมชนเมืองบ่อยาง (3) เพื่อดำเนินกิจการการผลิต การแปรรูปการสร้างช่องทางการตลาดและการเงิน ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนไปสู่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและจับต้องได้ (4) เพื่อดำเนินกิจการการผลิต การแปรรูปการสร้างช่องทางการตลาดและการเงิน ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนไปสู่ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและจับต้องได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน เพื่อติดตามและวางแผนการทำงาน10เดือน และสื่อสารการทำงานผ่านกลุ่มไลน์อย่างสม่ำเสมอ (2) กิจกรรมร่วมกับหน่วยจัดการโครงการ (3) เวทีชี้แจงโครงการ และจัดตั้งคณะทำงาน (4) เวทีปฐมเวทีโครงการระดับหน่วยจัดการ (5) คีย์ข้อมูล (6) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 1 (7) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 2 (8) เวทีชี้แจงโครงการและจัดตั้งคณะทำงาน (9) การสำรวจเก็บข้อมูลกลุ่มอาชีพ และทุนในชุมชน ข้อมูลกลุ่มเปราะบางที่ต้องการความช่วยเหลือ พร้อมจัดทำแผนที่ทรัพยากรในชุมชน ให้ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ (10) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 3 (11) เวทีประชุมกำหนดกติกากลุ่มในการดำเนินโครงการ เชิญกลุ่มเป้าหมายร่วมทำข้อตกลงด้วยกันเพื่อให้โครงการขับเคลื่อนไปตามแผนที่วางไว้ (12) เวทีชี้แจงดำเนินการตามกลุ่มอาชีพที่ได้รับมอบหมายไว้ ให้อุปกรณ์และลงมือปัฏิบิติตามอาชีพและพื้นที่ของตัวเอง (13) กิจกรรมอบรมความรอบรู้ด้านสุขภาพและการเงิน (14) อบรมการจัดทำแผนธุรกิจ และการจัดการธุรกิจจัดส่งอาหารไปถึงผู้บริโภค (15) เปิดครัวชุมชนแหลมสนอ่อนเพื่อร่วมกันผลิตอาหารใช้ชื่อว่า " ครัวปิ่นโดตุ้มตุ้ย" ประชาสัมพันธ์รับออเดอร์ (16) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 4 (17) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 5 (18) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 6 (19) เวทีสะท้อนผลลัพธ์โครงการ ARE (20) เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานราก ในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤตโควิด 19 พื้นที่ภาคใต้ (21) เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจฐานราก ในกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากวิกฤตโควิด 19 พื้นที่ภาคใต้ (22) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 7 (23) ประชุม Zoom Topic SoHappi training on content creation (24) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 8 (25) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 9 (26) เวทีแลกเปลี่ยนผลลัพธ์และบทเรียนการดำเนินงานโครงการสร้างเสริมสุขภาวะด้วยแนวคิดเศรษฐกิจบนฐานราก (27) ประชุมคณะทำงานโครงการ ครั้งที่ 10 (28) เวทีถอดบทเรียนและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ เชิญภาคีที่เกี่ยวข้องร่วมรับฟัง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh