directions_run

โครงการส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในเขตเมืองชุมชนคลองน้ำเจ็ด

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.เพื่อให้ครัวเรือนเป้าหมายมีความรอบรู้ทางสุขภาพและการเงิน
ตัวชี้วัด : 1) ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและการเงินเพิ่มขึ้น 2) ครัวเรือนเป้าหมายอย่างน้อย 80% สามารถนำความรู้ไปใช้แก้ไขปัญหาทางการเงินและสุขภาพได้

 

 

 

2 2. เพื่อส่งเสริมการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยเพื่อความมั่นคงทางอาหารในชุมชนเมือง
ตัวชี้วัด : 2.1.1) เกิดคณะทำงาน 8-12 คน ที่มาจากกรรมการชุมชน ปราชญ์ชุมชน และตัวแทนเทศบาลนครตรังและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ 2.1.2) เกิดการกำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะทำงาน 2.1.3) มีแผนการปฏิบัติงาน 2.1.4) มีการติดตามผลการดำเนินงานและเก็บข้อมูลเพื่อนำมาประเมินและปรับปรุงการทำงานอย่างต่อเนื่อง เดือนละ 1 ครั้ง 2.1.5) ชุมชนมีข้อมูลสถานการณ์ด้านพฤติกรรมการปลูกและบริโภคผัก (ระบุ ชนิด พันธุ์ จำนวน การใช้ประโยชน์จากผัก ข้อมูลผักที่ซื้อมาบริโภค) การใช้สารเคมีในชุมชน และนำข้อมูลไปใช้รวมถึงคืนข้อมูลให้ชุมชนอย่างต่อเนื่อง 2.1.6) มีการกำหนดกติกาหรือข้อตกลงเรื่องการปลูกและการบริโภคผักปลอดสารเคมี และเกิดการปฏิบัติตามกติกาหรือข้อตกลงที่กำหนดไว้ 2.2.1) ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน ปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคเองที่บ้าน เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5 ชนิด (ระบุชื่อผักพื้นบ้าน ผักตามฤดูกาล ที่เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการของครัวเรือน) 2.2.2) ครัวเรือนจำนวน 30 ครัวเรือน บริโภคผักที่ปลูกโดยไม่ใช้สารเคมี อย่างน้อย 3 ครั้งต่อสัปดาห์ (ต่อเนื่องอย่างน้อย 4 เดือน) 2.2.3) เกิดครัวเรือนต้นแบบจำนวน 10 ครัวเรือน 2.3.1.) ค่าใช้จ่ายในการซื้อผักบริโภคต่อครัวเรือนต่อสัปดาห์ลดลงเฉลี่ย 50% (จากก่อนเข้าร่วมโครงการ) 2.4.1) มีกลไกคณะทำงานประจำศูนย์ฯ 2.4.2) มีแผนการปฏิบัติงาน 2.4.3) มีการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ตามภารกิจของศูนย์ฯ