directions_run

15. ตันหยงโป โมเดล (Tanyongpo Model) หมู่บ้านต้นแบบการจัดการขยะอย่างยั่งยืน ตำบลตันหยงโป จังหวัดสตูล

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.เพื่อสร้างแกนนำการจัดการขยะบ้านตันหยงโป เกิดแกนนำจัดการขยะที่เข้มแข็ง 1.มีแกนนำไม่น้อยกว่า 5 คน ประกอบด้วยตัวแทนหมู่บ้าน และอบต.ตันหยังโป 2.มีข้อมูลสถานการณ์ขยะในหมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโป 3.มีข้อตกลงของแกนนำ และกติกาฮุ่ก่มฟากัตจัดการขยะร่วมกัน 4.มีแผนการทำงานของแกนนำ 2.เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนมีความรู้ความตระหนักในการจัดการขยะ ครัวเรือนในชุมชนมีความรู้ ความตระหนักในการจัดการขยะ 1.ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือนนักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงโป จำนวน 30 คน มีความรู้การคัดแยกขยะ และสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง 2.มีกติกาการจัดการขยะของครัวเรือนเป้าหมายและมีการปฏิบัติตาม 3. เพื่อสร้างครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ และมีการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องในชุมชน เกิดครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ และมีการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องในชุมชน 1.เกิดครัวเรือนต้นแบบจัดการขยะ ไม่น้อยกว่า 10 ครัวเรือน ที่มีการคัดแยกขยะต่อเนื่อง ลดการสร้างขยะ มีการนำขยะกลับมาใช้ และสามารถเป็นวิทยากรให้ครัวเรือนอื่น หรือคณะศึกษาดูงานได้ 2.แกนนำมีการติดตามผลการคัดแยกขยะของครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือนนักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงโป จำนวน 30 คนอย่างต่อเนื่อง 4.เพื่อให้ชุมชนเกิดการลดปริมาณของขยะมูลฝอยในครัวเรือน ง่ายต่อการนำขยะมูลฝอยไปกำจัด เพื่อลดปริมาณขยะจากครัวเรือน และเพิ่มความสวยงามให้ภูมิทัศน์ของชุมชน ปริมาณขยะจากครัวเรือนลดลง ภูมิทัศน์ของชุมชนสะอาด สวยงามขึ้น 1.ครัวเรือนเป้าหมาย มีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 80 (24 ครัวเรือน) 2. ปริมาณขยะของครัวเรือนเป้าหมายลดลงจากเดิมอย่างน้อย ร้อยละ 40 3.สถานที่ในหมู่บ้านสะอาด และสวยงามขึ้น
ตัวชี้วัด : เกิดการจัดการขยะในครัวเรือน และเป็นต้นแบบแก่ครัวเรือนอื่นๆ ได้
0.00