directions_run

15. ตันหยงโป โมเดล (Tanyongpo Model) หมู่บ้านต้นแบบการจัดการขยะอย่างยั่งยืน ตำบลตันหยงโป จังหวัดสตูล

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการตามแผนการร่วมทุน อบจ.และ สสส. 1 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 1 เวทีชี้แจ้งโครงการ และจัดตั้งคณะทำงานกำหนกบทบาทหน้าที่ในการทำงาน 9 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

ชื่อกิจกรรมที่ 2/1 สำรวจ สถานการณ์ขยะในชุมชน 18 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ร่วมใจการจัดการขยะอินทรีย์ให้เป็นศูนย์ 23 ก.พ. 2566

 

 

 

 

 

4.ชื่อกิจกรรมที่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้พื้นที่ต้นแบบ 6 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

ชื่อกิจกรรมที่ 5 กิจกรรมแยกขยะก่อนทิ้ง เริ่มที่ตัวเรา 11 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมหมู่บ้านต้นแบบ (ตันหยงโป โมเดล) จัดการขยะให้เป็นศูนย์ 16 มี.ค. 2566

 

 

 

 

 

ถอนเงินเปิดบัญชี 3 มิ.ย. 2566 17 ก.พ. 2566

 

เงินในการเปิดบัญชีธนาคาร

 

ถอนเงินค่าเปิดบัญชี

 

สรุปโครงการและถอดบทเรียน 13 ต.ค. 2566

 

 

 

 

 

ถอนเงิน ปิดบัญชี ส่งคินเงินดอกเบี้ย 7 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

เดินทางร่วมทำ mou 12 ม.ค. 2566 12 ม.ค. 2566

 

วันที่ 12 มกราคม 2566 นายสถาพร สามาดี และนายไมตรี หมันยามีน ร่วมลงนามทำ mou กับองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป และร่วมทำข้อตกลงในแผนงานร่วมทุนกับ สสส.

 

เกิดข้อตกลงในการทำงานร่วมงานตาม mou

 

กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานโครงการตามแผนการร่วมทุน อบจ.และสสส. 1 ก.พ. 2566 12 ม.ค. 2566

 

ป้ายไวนิลโครงการตันหยงโป โมเดลหมู่บ้านต้นแบบการจัดการขยะอย่างยังยืน ค่าตรายางโครงการ ค่าเดินทางเข้าร่วมทำ mou ค่าอาหารว่างพบปะพี่เลี้ยง ค่าเดินทางตรวจสอบเอกสารการเงิน ครั้งที่ 1 (โลตัสควนโดน) ค่าเดินทางร่วมกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย

 

1.ป้ายประชาสัมพันธ์และรณรงค์เลิกบุหรี่ 2.ตรายางโครงการ 3.ค่าเดินทางเข้าร่วมทำ mou 4.ค่าอาหารว่างพบปะพี่เลี้ยง

 

สำรวจ สถานการณ์ขยะในชุมชน ครั้งที่ 1 18 ก.พ. 2566 18 ก.พ. 2566

 

คณะทำงานลงพื้นที่สำรวจ และเก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน เพื่อจัดทำแผนผังต้นไม้ปัญหาและทราบสถานการณ์ปริมาณขยะ วิธีการกำจัด พฤติกรรมการคัดแยกขยะ ก่อนเริ่มโครงการ ลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชนจำนวน 2 ครั้ง คือ ก่อนเริ่ม และสิ้นสุดโครงการ โดยแบ่งให้แกนนำ 10 คน ลงสำรวจครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน (คนละ 3 ครัวเรือน) เพิ่มเติมรายละเอียด *************************

 

คณะทำงานมีการรับรู้ข้อมูลการจัดการขยะ และข้อมูลขยะที่เกิดขึ้นในครัวเรือน แต่ละครัวเรือนที่เข้าร่วม คณะทำงานสามารถนำไปปรับใช้ในการดำเนินกิจกรรม และรับทราบปัยหาการจัดการขยะที่เกิดขึ้นในชุมชน สรุปรายงานการลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน จำนวน 30 ครัวเรือน โดยมีการแบ่งลงพื้นที่ในเขตรับผิดชอบของตนเอง

สรุปรายงานการลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชน ครั้งที่ 1 จำนวน 30 ครัวเรือน      โครงการตันหยงโปโมเดล (Tanyong po Model) หมู่บ้านต้นแบบการจัดการขยะอย่างยั่งยืน    ตำบลตันหยงโป จังหวัดสตูล 1.ครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะรีไซเคิล จำนวน 13 ครัวเรือน และครัวเรือนที่ไม่มีการคัดแยก จำนวน 17 ครัวเรือน จากจำนวน 30 ครัวเรือน 2.ครัวเรือนที่มีการนำขยะอินทรีย์ไปทำปุ๋ยหมัก หรือถังขยะเปียก จำนวน 5 ครัวเรือน และครัวเรือนที่ไม่มีการนำขยะไปทำปุ๋ย จำนวน 25 ครัวเรือน จากจำนวน 30 ครัวเรือน 3.ครัวเรือนที่มีการนำขยะรีไซเคิล รวบรวมนำไปขาย จำนวน 15 ครัวเรือน และครัวเรือนที่ไม่มีการนำขยะรีไซเคิลไปขาย จำนวน 15 ครัวเรือน จากจำนวน 30 ครัวเรือน 4.ครัวเรือนที่มีการเผาขยะ จำนวน 3 ครัวเรือน และครัวเรือนที่ไม่มีการเผาขยะ จำนวน 27 ครัวเรือน จากจำนวน 30 ครัวเรือน 5.ครัวเรือนที่ยังมีการทิ้งขยะลงทะเล 4 ครัวเรือน และครัวเรือนที่ไม่มีการทิ้งขยะลงทะเล จำนวน 26 ครัวเรือน จากจำนวน 30 ครัวเรือน 6.ครัวเรือนที่ใช้บริการรถขยะขององค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป จำนวน 30 ครัวเรือน 7.ครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนอย่างจริงจัง (แยกขยะแต่ละชนิด) จำนวน 5 ครัวเรือนและครัวเรือนที่ไม่มีการคัดแยกขยะมุลฝอยในครัวเรือนอย่างจริงจัง จำนวน 25 ครัวเรือน จากจำนวน 30 ครัวเรือน ข้อเสนอแนะ 1.ครัวเรือนส่วนมากอยากได้ถังขยะ (ซึ่งตรงนี้คณะทำงานที่ลงสำรวจก้ได้อธิบายว่า ในการคัดแยกไม่จำเป็นต้องมีถังขยะที่ครบประเภทก็ได้ถ้าหากเรา มีการคัดแยกใส่ในกระสอบ หรือถุงดำ หรือภาชนะที่ไม่ใช่แล้ว 2.ครัวเรือนบางครัวเรือนเสนอให้มีการจัดการกับแพะ ที่ชอบคุ้ยขยะ ในช่วงที่รอรถขยะมาเก็บ 3.ให้มีการรณรงค์การไม่ทิ้งขยะลงทะเล และให้ทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 4.ให้อบต.ตันหยงโป มีจุดทิ้งขยะอันตรายที่ชัดเจน และสะดวกต่อการนำไปกำจัด

 

ทำตรา ยาง และป้ายไวนิลโครงการ 18 ก.พ. 2566 18 ก.พ. 2566

 

ทำตรายาง และป้ายไวนิล

 

ป้ายไวนิล โครงการ และป้ายบันไดผลลัพธ์ และตรายางโครงการ เอาไว้ใช้ดำเนินกิจกรรม ตลอดทั้งกิจกรรม

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ร่วมใจจัดการขยะให้เป็นศูนย์ รุ่นที่ 1 23 ก.พ. 2566 23 ก.พ. 2566

 

การอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยก และการจัดการขยะมูลฝอย กลุ่มเป้าหมาย 30 ครัวเรือน นักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงโป จำนวน 30 คน รวม 60 คน
รายละเอียดหัวข้อกิจกรรม
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
- บรรยายให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะแบบ 3Rs
- สอน/สาธิตการคัดแยกประเภทขยะแต่ละชนิด
- สอน/สาธิตการคัดแยกขยะรีไซเคิลเพื่อการจำหน่าย
- สาธิตการจัดการขยะเปียกครัวเรือนด้วยวิธีถังขยะอินทรีย์ฝังดิน

 

ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน นักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงโป จำนวน 30 คน มีความรู้การคัดแยกขยะ และสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง มีกติกาการจัดการขยะของครัวเรือนเป้าหมายและมีการปฏิบัติตาม มีกติการ่วมกันในการจัดการขยะในแหล่งท่องเที่ยว ลงพื้นที่เดือนละ 1 ครั้งในการลงพื้นที่แหล่งสถานที่ท่องเที่ยว มีการตกลงเป็นแกนนำจัดการขยะในชุมชน

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้พื้นที่ต้นแบบ 6 มี.ค. 2566 6 มี.ค. 2566

 

ผู้รับผิดชอบโครงการ นำคณะทำงานเข้าศึกษาดูงาน เทศบาลควนโดน เรื่อง การจัดการขยะ การใช้ประโยชน์และการสร้างรายได้จากสิ่งเหลือทิ้ง ในพื้นที่ต้นแบบการจัดการขยะภายในจังหวัดสตูลที่ผลงานเด่นระดับประเทศ 1 วัน โดยแบ่งบทบาทหน้าที่คณะทำงานในการศึกษาดูงาน ในประเด็นต่อไปนี้
การคัดแยกขยะ

การขายขยะจัดการอย่างไร กลุ่มรับซื้อขยะทำงานอย่างไร มีการร่วมตัวของกลุ่ม หรือชาวบ้านในชุมชนที่สละเวลาว่างมาทำกิจกรรมให้เกิดประโยชน์ ในการมีส่วนร่วมจัดการขยะ รีไวเคิ้ลและรับซื้อขยะภายในชุมชน

และวิทยากรได้ให้บรรยาย ครัวเรือนต้นแบบมีหรือไม่ มีการจัดการขยะแบบมีส่วนร่วม ของในชุมชน แบบพึ่งพาตนเอง มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน แยกขยะ โดยมีถุงตะข่ายตั้งไว้ แยกขยะรีไซเคิ้ล ส่วนขยะเปียก นำไปทำปุ๋ยหรือเลี้ยงสัตว์ รวมถึงปัญหาอุปสรรคมีอะไรบ้าง การจัดการขยะในชุมชน คือ เรื่องการมีส่วนร่วม เรื่อง การไม่เอาเปรียบผู้อื่น ร่วมถึงการเข้าถึงของหน่วยงานต่างๆที่จะมาช่วยเหลือ ชาวบ้าน รวมถึงการมีจิตสำนึกที่ดี ที่ต้องใช้ระยะเวลาหลายปีกว่าจะสำเร็จได้

และนำผลจากการศึกษาดูงานเข้าปรึกษาหารือในการประชุมคณะทำงาน เพื่อนำมาวางแผนออกแบบในบริบทของบ้านตันหยงโป การปรับใช้ การสร้างการมีส่วนร่วม การสร้างจิตสำนึก การลดปริมาณขยะในครัวเรือน ร่วมถึงการพึ่งพาตนเองในการจัดการขยะ

 

คณะทำงานเกิดการต่อยอดและการนำไปใช้ในการดำเนินโครงการในพื้นที่ และสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในด้านการจัดการขยะในพื้นได้ และคณะทำงานสามารถสร้างการสื่อสารต่อครัวเรือนที่สนใจเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้
สรุปผลการเข้า้รียนรู้ในครั้งนี้

1.การจัดการขยะอย่างมีส่วนร่วม

2.การสร้างจิตสำนึกในการจัดการขยะ

3.การจัดการขยะด้วยการสร้างกระบวนการแกนนำจัดการขยะ

4.การรับทราบปัญหาและสร้างแนวทางการแก้ไขยังอย่างยื่น

 

กิจกรรมแยกขยะก่อนทิ้ง 11 มี.ค. 2566 11 มี.ค. 2566

 

จัดกิจกรรมดังนี้ โดยครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน นักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงโป จำนวน 30 คน ร่วมกันคัดแยกขยะในครัวเรือนตนเอง และโรงเรียน และนำมาขายกับกลุ่มรับซื้อขยะ เดือนละครั้ง รวม 5 ครั้ง มีการจดบันทึกในสมุบัญชีขยะของแต่ละครัวเรือน 1.แกนนำรณรงค์ให้สถานศึกษา เด็กและเยาวชน รู้รักษ์ บ้านเกิดของตน ในการมีส่วนร่วมเป็นกระบอกเสียงในการลดปริมาณขยะในครัวเรือน และการรณรงค์ไม่ทิ้งขยะลงทะเล เพื่อเป็นการรักษาระบบนิเวศและทรัพยากรทางทะเลให้คงอยู่อย่างยังยืน 2.กิจกรรมนี้ให้เด็กและเยาวชนในการเป็นแกนนำหลัก ในการลดปริมาณขยะและสร้างจิตสำนึกให้กับคนในพื้นที่และนักท่องเที่ยว ร่วมถึงการทำกิจกรรมรวมตัวกัน ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและลดปริมาณขยะ 3.จัดกิจกรรมให้เด็กและเยาวชนพร้อมด้วยภาคีเครือข่ายลงพื้นที่ ทำความสะอาดชุมชน และสถานที่ท่องเที่ยวให้สะอาด เดือน ละ 2 ครั้ง 1. ค่าทำตะแกรงเหล็กคัดแยกขยะรีไซเคิล เพื่อเก็บกระดาษ ขวดแก้ว และขวดพลาสติก , ค่าตาชั่ง รวมเป็นเงิน 5,200 บาท 2. ค่าสมุดบันทึกประจำครัวเรือน เล่มละ 20 บาท จำนวน 30 เล่ม เป็นเงิน 600 บาท 3. ค่าอาหารกลางวัน 30 คน x 80 บาท x 5 ครั้ง = 12,000 บาท มีการลงพื้นที่ของกลุ่มเป้าหมาย จากนักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงโป จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 19 พฤษภาคม 2566 ณ โรงเรียนบ้านตันหยงโป วันที่ 22 พฤษภาคม 2566 ณ หมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโป วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 ณ บริเวณชายหาดบ้านตันหยงโป ลงพื้นที่ช่วยกันรักษาความสะอาดบริเวณสถานที่ต่างๆ

 

เพื่อสร้างครัวเรือนต้นแบบการจัดการขยะ และมีการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องในชุมชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.เกิดครัวเรือนต้นแบบจัดการขยะ ไม่น้อยกว่า 10 ครัวเรือน ที่มีการคัดแยกขยะต่อเนื่อง ลดการสร้างขยะ มีการนำขยะกลับมาใช้ และสามารถเป็นวิทยากรให้ครัวเรือนอื่น หรือคณะศึกษาดูงานได้ 2.แกนนำมีการติดตามผลการคัดแยกขยะของครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน อย่างต่อเนื่อง

 

เวทีชี้แจงโครงการ 5 เม.ย. 2566 9 พ.ค. 2566

 

ในนามผู้รับผิดชอบโครงการ ได้จัดกิจกรรมเวทีชีแจ้งโครงการ และจัดตั้งคณะทำงาน กำหนดบทบาทในคณะทำงาน ได้รับเกียรติจากนายอดุลย์ มะสมัน นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโป และสมาชิกสภาร่วมถึงเจ้าหน้าที่และพนักงานกองสาธารณสุข และตัวแทนสมาชิกสภา และสารวัตรกำนันตำบลตันหยงโป อีหม่ามผู้นำศาสนา และผู้อำนวยการ รพ.สต.ตันหยงโป และกลุ่มเป้าหมาย ในการเข้าร่วมจัดกิจกรรมในครั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อสร้างแกนนำการจัดการขยะบ้านตันหยงโป โดยในกิจกรรมในครั้งนี้ ประกอบด้วยกับการทำกิจกรรมได้รับความรู้จากตัวแทนวิทยากร ที่ทางองคืการบริหารส่วนตำบลตันหยงโป ได้สนับสนุนมา ทางผู้เข้าร่วมได้ทราบถึงสถานณ์การขยะในพื้นที่ที่นับวันจะสูงขึ้นและวิทยากรได้เล่าว่า ทุกครั้งที่มีการจำกัดขยะ ค่าใช้จ่ายก็จะสูงขึ้น ตลอดบวกกับในพื้นที่เราไม่มีถังขยะ แต่ขยะที่ครัวเรือนที่ใช้บริการได้ทิ้งลงไป เพื่อรอรับนำไปทิ้ง บางครัวเรือนยังมีการทิ้งเศศอาหาร ตลอดถึงพวกกิ่งไม้ใบไม้ในภาชนะที่ทิ้งลงถังไปด้วย และวิทยากรได้ให้ทุกคนได้ดูคลิปวิดีโอในการเป็นแรงผลักดัยให้ครัวเรือนได้มีความตระหนักในการไม่ทิ้งขยะลงทะเล และแยกขยะก่อนทิ้ง ด้านผู้รับผิดชอบโครงการได้ให้นายกองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงโปได้พูดคุยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้ นายกได้พูดคุยถึงการมีส่วนร่วมของประชานในพื้นที่ในการมีส่วนร่วมการจัดการขยะอย่างยังยืน และเป็นต้นแบบในการจัดการขยะให้คนในชุมชน และหน้าที่จัดการขยะเป็นหน้าที่ของพวกเราทุกคน และทางผู้รับผิดชอบได้ให้ทางผู้นำศาสนาได้พบปะพูดคุย ก่อนจะเข้าช่วงที่สองของกิจกรรม ทางอีหม่ามก็ได้พบปะพูดคุยในเรื่องขยะในบ้านเรา ซึ่งหม่ามเองก็ได้เน้นยำว่าหน้าที่ของพวกเราคือการรักษาความสะอาดและในการจัดการขยะ ก็คือความดีชนิดหนึ่ง ที่เราต้องช่วยกัน พอหลังจากอีหม่ามได้พูดคุย ก้ผู้รับผิดชอบ ก็อยากให้ทุกคนได้ทราบว่า กิจกรรมในครั้งนี้นอกจากเป็นการพบปะ และให้ทุกคนช่วยลงความคิดเห็นตลอดสร้างกติการูปแบบการจัดการขยะ ฮูก่มฟากัต จัดการขยะ ก็ได้ให้ทุกคนได้ร่วมด้วยช่วยกันเสนอการจัดการขยะร่วมกันก็ได้สรุปดังนี้ มีการร่วมตัวกันเดือนละ 1 ครั้งในการลงพื้นที่ทำกิจกรรมร่วมกันดูแลความสะอาดในชุมชน 2. ให้มีการรณรงค์ห้ามทิ้งขยะลงทะเล 3. ห้ามให้มีการปล่อยแพะ ให้ไปสร้างความเดือดร้อนแก่คนอื่น (คุ้ยถังขยะ) 4. ให้ทุกคนช่วยกันมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะในครัวเรือน 5. ให้นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวแล้วนำขยะมาให้นำกลับไปด้วย 6. ครัวเรือนไหน มีขยะอันตราย ให้ไปส่งที่อบต.ตันหยงโป
7. ทุกครัวเรือนต้องไม่ทิ้งขยะเปียกลงในถุง หรือกระสอบทิ้งขยะ 8. ตันหยงโป ต้องปลอดถังขยะ 9. ทุกครัวเรือนต้องมีการจัดการกับขยะรีไซเคิล ที่สามารถนำไปขายได้ 10. ขยะแต่ละชิ้น คือ หน้าที่ของพวกเราทุกคน ที่จะต้องช่วยกัน

ซึ่งแยกมาจากหลายข้อ ซึ่งทุกคนเห็นด้วยในการสร้างกติกาในชุมชน และให้ ผู้บริหารท้องถิ่น ร่วมถึง ผู้นำศานา ผู้นำท้องที่ ผู้บริหารโรงเรียน กสร ช่วยกันสนับสนุนกิจกรรมให้ดีขึ้น

 

ผลผลิตในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ในการดำเนินงานและรับผิดชอบ ของคณะทำงานดังต่อไปนี้
โครงการตันหยงโปโมเดล (Tanyong po Model) หมู่บ้านต้นแบบการจัดการขยะอย่างยั่งยืน ตำบลตันหยงโป จังหวัดสตูล เวที จัดตั้งคณะทำงาน กำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงาน โดย กลุ่มรักษ์บ้านเกิด ตำบลตันหยงโป และแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในระดับพื้นที่ จังหวัดสตูล สำนักสร้างสรรค์โอกาส (สำนัก 6) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

1.ระดับคณะทำงาน

ลำดับที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง บทบาทหน้าที่

  1. นายสถาพร สามาดี ประธาน บริหารจัดการ ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน และรับผิดชอบโครงการ
  2. นายไมตรี หมันยามีน รองประธาน ประสานความร่วมมือ แก้ไขปัญหาต่างๆ
  3. นายอดิสรณ์ กาสา รองประธาน ประสานความร่วมมือ ด้านวิชาการ
  4. นายมะยูกี อิสมะแอน เลขานุการ กิจกรรมและสันทนาการ
  5. นายนาอีม ยาหวัง กรรมการ ฝ่ายสถานที่ และความสะอาด
  6. นายชากีรอน หมันยาหมีน กรรมการ ฝ่ายบันทึกภาพ และแผนงาน
  7. นายเยฟฟรี หมัดตานี กรรมการ ฝ่ายสวัสดิการ
  8. นางสาวสุภาวดี เหมปันดัน กรรมการ ฝ่ายประเมินผล
  9. นางสาววาริศา หมาดเรียง กรรมการ ฝ่ายลงทะเบียนและบันทึกการประชุม
  10. นางสาววรรณิศา หมัดตานี กรรมการและเลขานุการ เลขานุการและการเงินและบัญชี

หมายเหตุ : คณะทำงานสามารถทำหน้าที่อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายได้ และมีการตกลงกติการ่วมกัน ในรูปแบบฮู่ก่มฟากัต จัดการขยะ ดังต่อไปนี้

  1. มีการร่วมตัวกันเดือนละ 1 ครั้งในการลงพื้นที่ทำกิจกรรมร่วมกันดูแลความสะอาดในชุมชน
  2. ให้มีการรณรงค์ห้ามทิ้งขยะลงทะเล
  3. ห้ามให้มีการปล่อยแพะ ให้ไปสร้างความเดือดร้อนแก่คนอื่น (คุ้ยถังขยะ)
  4. ให้ทุกคนช่วยกันมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะในครัวเรือน
  5. ให้นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวแล้วนำขยะมาให้นำกลับไปด้วย
  6. ครัวเรือนไหน มีขยะอันตราย ให้ไปส่งที่อบต.ตันหยงโป
  7. ทุกครัวเรือนต้องไม่ทิ้งขยะเปียกลงในถุง หรือกระสอบทิ้งขยะ
  8. ตันหยงโป ต้องปลอดถังขยะ
  9. ทุกครัวเรือนต้องมีการจัดการกับขยะรีไซเคิล ที่สามารถนำไปขายได้
  10. ขยะแต่ละชิ้น คือ หน้าที่ของพวกเราทุกคน ที่จะต้องช่วยกัน

และผู้เข้าร่วมได้รับทราบปัญหาขยะในพื้นที่ และรับได้ความรู้ในการจัดการขยะร่วมกัน และสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ ร่วมใจการจัดการขยะอินทรีย์ให้เป็นศูนย์ รุ่นที่2 8 เม.ย. 2566 17 พ.ค. 2566

 

ผู้รับผิดชอบโครงการนำโดยนายสถาพร สามาดี และคณะทำงาน ลงพื้นที่จัดกิจกรรมการอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยก และการจัดการขยะมูลฝอย กลุ่มเป้าหมาย 30 ครัวเรือน สถานที่ สภากาแฟ หมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโป ได้รับเกีตริเชิญวิทยากร ปราญชาวบ้าน อดีต สมาชิกสภาเกษตรจังหวัดสตูล มาให้ความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะอินทรีย์ ในครัวเรือน โดยในกิจกรรม ผู้รับผิดชอบโครงการได้ชี้แจงโครงการตลอดความเป็นมาของการจัดดรงการ และได้มอบให้อีหม่ามามัสยิดอิสลามียะห์ ได้พบปะพูดคุยในเรื่องของการักษาความสะอาดของชุมชนเรา และได้พูดคุยถึงความรับผิดชอบในการจัดการขยะคือตัวเราเองที่ช่วยกันตรงนี้ และหลังจากอีหม่ามมัสยิดได้แนะนำและพบปะ ก็ถึงเวลาของวิทยากรในการให้ความรู้ ในเรื่องการจัดการขยะอินทีย์ให้เป็นศูนย์ในครั้งนี้ ได้เล่าเท้าความเบื้องต้น เรื่องของการจัดการขยะ คือหน้าที่ของพี่น้องมุสลิมเราในการรักษาความสะอาดในครัวเรือนของเราตลอดถึงการมีจิตสำนึกในการรักษ์บ้านของตนเอง คือชุมชนของเราให้คงซึ่งไว้ในความสะอาด ชาวบ้านมีสุขภาวะที่ดี ตลอดจนขยะข้างทางเราสะอาด และยังได้พูดคุยในเรื่องของการใช้ปุ่ยอินทรียื แทน ปุ๋ยเคมี ตลอด การได้มาซึ่งการจัดการขยะอินทรียืในครัวเรือน โดยวิทยากรได้ สะท้อนให้เห็นว่าในชุมชนเรามีการจัดการกับขยะประเภทนี้เช่นไหร่ บางครัวเรือนนำไปทิ้งลงทะเล บางครัวเรือนนำไปให้อาหารสัตว์เลี้ยง ตลอดบางครัวเรือนนำไปทำป๋ยหมัก ตลอดจนทำถังขยะเปียก และในฐานะวิทยากรเป็นปราญชาวบ้านในชุมชน และเล็งเห็นถึงการให้ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการจัดการขยะประเภทเล่านี้ให้เห็นผล ได้แนะนำวิธีการจัดการขยะอินทรีย์ในรูปแบบการทำปุ๋ยหมัก ตลอดจนการจัดการขยะแต่ละประเภท และได้แนะนำในเชิงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งได้มีครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายได้แนะนำให้ ครัวเรือนต่างๆในการจัดการขยะในรุปแบบของตัวเอง และวิทยกรก้ได้แนะนำให้ครัวเรือนต้นแบบได้เป็นครัวเรือน ที่ช่วยกันจัดการขยะตรงนี้ใหเเห็นผลและมีการนำไปใช้ในชีวติประจำวันได้

 

ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายเกิดการเรียนรู้ วิธีการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนโดยได้รับความเห็นว่าจัดการขยะในรูปแบบของตน คือ นำไปทำปุ๋ยหมักก็ได้หรือนำไปให้อาหารสัตว์ก็ดี โดยไม่จำเป็นทิ้งลงในทะเล หรือถังขยะของอบต และสามารถมีความรู้ในการจัดการขยะเปียก และมีการตกลงในการร่วมกันจำกัดขยะอินทรีย์ โดยการนำไปทำปุ่ยหมักชีวภาพ และนำไปทำเป็นถังขยะปียกและนำไปเลี้ยงสัตว์ โดยครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายสามรถเป็นตัวอย่างในการจัดการขยะอินทรียืให้แก่ครัวเรือนอื่นๆ ได้

 

เวทีแลกเปลี่ยน โครงการย่อย 28 เม.ย. 2566 28 เม.ย. 2566

 

แผนงานร่วมทุนฯ อบจ.สตูล จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1 ณ ห้องประชุมอาคารศูนย์ข้อมูลสารสนเทศการท่องเที่ยวจังหวัดสตูล โดยมีนายสัมฤทธิ์  เลียงประสิทธิ์ นายก อบจ.สตูล เป็นประธานแผนงานร่วมทุน ให้เกียรติเป็นประธานพิธีเปิดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อยครั้งที่ 1 #แผนงานร่วมทุนฯ

 

เพื่อติดตามและแลกเปลี่ยนการดำเนินกิจกรรมในแต่ละกิจกรรม ของโครงการเพื่อสืบทราบแนวทางการดำเนินงานหรือแนวทางที่ต้องการแก้ไข ตลอดการดำเนินงานที่ผ่านมาเพื่อให้ผู้รับผิดชอบและทีมพี่เลี้ยงพร้อมด้วย อบจ.สตูล ทำงานไปแนวทางเดี่ยวกัน

 

แยกขยะก่อนทิ้ง ครั้งที่ 1/5 19 พ.ค. 2566 19 พ.ค. 2566

 

คณะทำงานพร้อมด้วยนายสถาพร สามาดี ผู้รับผิดชอบโครงการได้ประสานงานกับทางโรงเรียนบ้านตันหยงโป ในการดำเนินงานจัดโครงการตันหยงโป โมเดล หมู่บ้านตนแบบการจัดการขยะอย่างยังยืน โดยให้เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านตันหยงโป เป็นแกนนำในการจัดการขยะ โดยคณะทำงานได้ชีแจงความเป็นมาของโครงการตลอดแนวทางการดำเนินกิจกรรมในครั้งนี้ ให้นักเรียนประชาสัมพันธ์ และเป็นแกนนำในการรักษาความสะอาดในโรงเรียน และมีความรู้ในการจัดการขยะ ในโรงเรียน ผู้เข้าร่วม ทั้ง 30 คน สามารถมีความรู้ในการจัดการขยะอย่างถูกต้องและนักเรียนสามารถช่วยกันรักษาความสะอาดในโรงเรียนได้ และลงพื้นที่ช่วยกันเก็บขยะบริเวณโรงเรียน และอาคารอนุบาลใต้ต้นไม้และรอบๆตัวอาคาร

 

ผลผลิตได้นักเรียนตามกลุ่มเป้าหมายในการช่วยกันรณรงค์การคัดแยกขยะในโรงเรียน และในครัวเรือนของตนเองได้ และนักเรียนที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกับคณะทำงานช่วยกันเก็บขยะและรักษาความสะอาดบริเวณรอบโรงเรียนบ้านตันหยงโป

 

แยกขยะก่อนทิ้งเริ่มที่ตัวเรา ครั้งที่ 2/5 22 พ.ค. 2566 22 พ.ค. 2566

 

ทางผู้รับผิดชอบโครงการได้ประสานกับทางโรงเรียนในการขอตัวนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมแยกขยะก่อนทิ้งเริ่มที่ตัวเรา ครั้งที่ 2 โดยเป็นเด็กๆแกนนำในพื้นที่ ร่วมด้วยช่วยกันลงพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโป ตลอดเส้นทางถนนใหญ่ในการช่วยกันเก็บขยะบริเวณข้างทาง และมีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท ว่าใครรับผิดชอบขยะชนิดไหน และได้นำมารวบร่วมไว้ในถังขยะรีไซเคิล และนักเรียนได้ทำการเก็บขยะจำพวกป้ายไวนิลเลือกตั้งที่ชำรุด นำไปทิ้งและช่วยกัน ดูแลความสะอาดตลอดเส้นทางของหมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโปให้สะอาด

 

เด็กนักเรียนสามารถสร้างจิตสำนึกในตัวเองในการร่วมรักษาความสะอาดของหมู่บ้านตนเองให้สวยงามยิ่งขึ้นและสามรถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของตัวเองได้

 

แยกขยะก่อนทิ้งเริ่มที่ตัวเรา ครั้งที่ 3/5 26 พ.ค. 2566 26 พ.ค. 2566

 

ทางผู้รับผิดชอบโครงการ ได้ประสานงานกับทางโรงเรียนในการขอตัวนักเรียน ในการร่วมกิจกรรมแยกขยะก่อนทิ้งครั้งที่ 3 โดยได้รับสนับสนุนจากทางโรงเรียนบ้านตันหยงโป  จำนวน 30 คน พร้อมด้วยคณะทำงานลงพื้นที่ บริเวณชายหาดบ้านตันหยงโป ในการช่วยกันรักษาความสะอาด ตลอดบรเวณชายหาด บ้านตันหยงโป โดยคณะทำงานได้แบ่งกลุ่มในการเก็บขยะ ได้แก่ กลุ่มที่ 1 มีหน้าที่เก็บขยะรีไซเคิล กลุ่มที่ 2 ขยะทั่วไป และกลุ่มที่ 3 ขยะอันตรายได้แก่ขวดแก้วต่างๆ ในการลงทำกิจกรรมในครั้งนี้เพื่อเป็นการปลูกฝั่งจิตสำนึกในการรักบ้านเกิดของตนตลอดการรักษาความสะอาดในแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนให้สะอาดตา และช่วยกันรณรงค์ให้นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวได้นำขยะกลับไปด้วย

 

เด็กนักเรียน สามารถเป็นแกนนำในการรักษาสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนให้ดีขึ้น เป็นตัวอย่างในการไม่ทิ้งขยะบริเวณชายหาดตลอดถึงในการเป็นตัวแทนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของตันหยงดปให้สวยงามยิ่งขึ้น

 

แยกขยะก่อนทิ้งเริ่มที่ตัวเรา ครั้งที่ 4/5 25 ส.ค. 2566 25 ส.ค. 2566

 

ทางผู้รับผิดชอบโครงการได้ประสานกับทางโรงเรียนในการขอตัวนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมแยกขยะก่อนทิ้งเริ่มที่ตัวเรา ครั้งที่ 2 โดยเป็นเด็กๆแกนนำในพื้นที่ ร่วมด้วยช่วยกันลงพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโป ตลอดเส้นทางถนนใหญ่ในการช่วยกันเก็บขยะบริเวณข้างทาง และมีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท ว่าใครรับผิดชอบขยะชนิดไหน และได้นำมารวบร่วมไว้ในถังขยะรีไซเคิล และนักเรียนได้ทำการเก็บขยะจำพวกป้ายไวนิลเลือกตั้งที่ชำรุด นำไปทิ้งและช่วยกัน ดูแลความสะอาดตลอดเส้นทางของหมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโปให้สะอาด

 

นักเรียนเกิดการรักบ้านเกิดของตน

 

แยกขยะก่อนทิ้งเริ่มที่ตัวเรา ครั้งที่ 5/5 28 ส.ค. 2566 28 ส.ค. 2566

 

ทางผู้รับผิดชอบโครงการได้ประสานกับทางโรงเรียนในการขอตัวนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมแยกขยะก่อนทิ้งเริ่มที่ตัวเรา ครั้งที่ 2 โดยเป็นเด็กๆแกนนำในพื้นที่ ร่วมด้วยช่วยกันลงพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโป ตลอดเส้นทางถนนใหญ่ในการช่วยกันเก็บขยะบริเวณข้างทาง และมีการคัดแยกขยะแต่ละประเภท ว่าใครรับผิดชอบขยะชนิดไหน และได้นำมารวบร่วมไว้ในถังขยะรีไซเคิล และนักเรียนได้ทำการเก็บขยะจำพวกป้ายไวนิลเลือกตั้งที่ชำรุด นำไปทิ้งและช่วยกัน ดูแลความสะอาดตลอดเส้นทางของหมู่ที่ 1 บ้านตันหยงโปให้สะอาด

 

นักเรียน และภาคีเครือข่ายเก็บขยะ

 

กิจกรรมหมู่บ้านต้นแบบ (ตันหยงโป โมเดล) จัดการขยะให้เป็นศูนย์ ครั้งที่ 1 29 ส.ค. 2566 29 ส.ค. 2566

 

โดยคณะทำงานกำหนดเกณฑ์ครัวเรือนต้นแบบ และกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ครัวเรือนต้นแบบสามารถเป็นตัวอย่างให้ครัวเรือนอื่น ๆ ปฏิบัติตามกระตุ้น และสามารถถ่ายทอดความรู้ ทักษะการจัดการขยะให้กับผู้อื่นได้  กิจกรรมกำหนดให้ ตัวแทนคณะทำงาน 5 คน ลงเยี่ยมบ้านครัวเรือนเป้าหมายทั้ง 30 ครัวเรือน เพื่อค้นหาต้นแบบ โดยลงเยี่ยมเดือนละครั้ง ครั้งละ 1 วัน ดำเนินการ 5 เดือน และมีการมอบเกียรติบัตร ติดป้ายครัวเรือนต้นแบบในเวทีสรุปบทเรียนการทำงาน

 

1.เกิดครัวเรือนต้นแบบจัดการขยะ ไม่น้อยกว่า 10 ครัวเรือน ที่มีการคัดแยกขยะต่อเนื่อง ลดการสร้างขยะ มีการนำขยะกลับมาใช้ และสามารถเป็นวิทยากรให้ครัวเรือนอื่น หรือคณะศึกษาดูงานได้ 2.แกนนำมีการติดตามผลการคัดแยกขยะของครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน อย่างต่อเนื่อง

 

กิจกรรมหมู่บ้านต้นแบบ (ตันหยงโป โมเดล) จัดการขยะให้เป็นศูนย์ ครั้งที่ 2 31 ส.ค. 2566 31 ส.ค. 2566

 

โดยคณะทำงานกำหนดเกณฑ์ครัวเรือนต้นแบบ และกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ครัวเรือนต้นแบบสามารถเป็นตัวอย่างให้ครัวเรือนอื่น ๆ ปฏิบัติตามกระตุ้น และสามารถถ่ายทอดความรู้ ทักษะการจัดการขยะให้กับผู้อื่นได้  กิจกรรมกำหนดให้ ตัวแทนคณะทำงาน 5 คน ลงเยี่ยมบ้านครัวเรือนเป้าหมายทั้ง 30 ครัวเรือน เพื่อค้นหาต้นแบบ โดยลงเยี่ยมเดือนละครั้ง ครั้งละ 1 วัน ดำเนินการ 5 เดือน และมีการมอบเกียรติบัตร ติดป้ายครัวเรือนต้นแบบในเวทีสรุปบทเรียนการทำงาน

 

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.ครัวเรือนเป้าหมาย มีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 80 (24 ครัวเรือน) 2. ปริมาณขยะของครัวเรือนเป้าหมายลดลงจากเดิมอย่างน้อย ร้อยละ 40
3.สถานที่ในหมู่บ้านสะอาด และสวยงามขึ้น

 

กิจกรรมหมู่บ้านต้นแบบ (ตันหยงโป โมเดล) จัดการขยะให้เป็นศูนย์ ครั้งที่ 3 4 ก.ย. 2566 4 ก.ย. 2566

 

โดยคณะทำงานกำหนดเกณฑ์ครัวเรือนต้นแบบ และกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ครัวเรือนต้นแบบสามารถเป็นตัวอย่างให้ครัวเรือนอื่น ๆ ปฏิบัติตามกระตุ้น และสามารถถ่ายทอดความรู้ ทักษะการจัดการขยะให้กับผู้อื่นได้  กิจกรรมกำหนดให้ ตัวแทนคณะทำงาน 5 คน ลงเยี่ยมบ้านครัวเรือนเป้าหมายทั้ง 30 ครัวเรือน เพื่อค้นหาต้นแบบ โดยลงเยี่ยมเดือนละครั้ง ครั้งละ 1 วัน ดำเนินการ 5 เดือน และมีการมอบเกียรติบัตร ติดป้ายครัวเรือนต้นแบบในเวทีสรุปบทเรียนการทำงาน

 

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.ครัวเรือนเป้าหมาย มีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 80 (24 ครัวเรือน) 2. ปริมาณขยะของครัวเรือนเป้าหมายลดลงจากเดิมอย่างน้อย ร้อยละ 40
3.สถานที่ในหมู่บ้านสะอาด และสวยงามขึ้น

 

กิจกรรมหมู่บ้านต้นแบบ (ตันหยงโป โมเดล) จัดการขยะให้เป็นศูนย์ ครั้งที่ 4 6 ก.ย. 2566 6 ก.ย. 2566

 

โดยคณะทำงานกำหนดเกณฑ์ครัวเรือนต้นแบบ และกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ครัวเรือนต้นแบบสามารถเป็นตัวอย่างให้ครัวเรือนอื่น ๆ ปฏิบัติตามกระตุ้น และสามารถถ่ายทอดความรู้ ทักษะการจัดการขยะให้กับผู้อื่นได้  กิจกรรมกำหนดให้ ตัวแทนคณะทำงาน 5 คน ลงเยี่ยมบ้านครัวเรือนเป้าหมายทั้ง 30 ครัวเรือน เพื่อค้นหาต้นแบบ โดยลงเยี่ยมเดือนละครั้ง ครั้งละ 1 วัน ดำเนินการ 5 เดือน และมีการมอบเกียรติบัตร ติดป้ายครัวเรือนต้นแบบในเวทีสรุปบทเรียนการทำงาน

 

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.ครัวเรือนเป้าหมาย มีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 80 (24 ครัวเรือน) 2. ปริมาณขยะของครัวเรือนเป้าหมายลดลงจากเดิมอย่างน้อย ร้อยละ 40
3.สถานที่ในหมู่บ้านสะอาด และสวยงามขึ้น

 

กิจกรรมหมู่บ้านต้นแบบ (ตันหยงโป โมเดล) จัดการขยะให้เป็นศูนย์ ครั้งที่ 5 9 ก.ย. 2566 9 ก.ย. 2566

 

โดยคณะทำงานกำหนดเกณฑ์ครัวเรือนต้นแบบ และกำหนดวัตถุประสงค์เพื่อให้ครัวเรือนต้นแบบสามารถเป็นตัวอย่างให้ครัวเรือนอื่น ๆ ปฏิบัติตามกระตุ้น และสามารถถ่ายทอดความรู้ ทักษะการจัดการขยะให้กับผู้อื่นได้  กิจกรรมกำหนดให้ ตัวแทนคณะทำงาน 5 คน ลงเยี่ยมบ้านครัวเรือนเป้าหมายทั้ง 30 ครัวเรือน เพื่อค้นหาต้นแบบ โดยลงเยี่ยมเดือนละครั้ง ครั้งละ 1 วัน ดำเนินการ 5 เดือน และมีการมอบเกียรติบัตร ติดป้ายครัวเรือนต้นแบบในเวทีสรุปบทเรียนการทำงาน

 

ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.ครัวเรือนเป้าหมาย มีการคัดแยกขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ ร้อยละ 80 (24 ครัวเรือน) 2. ปริมาณขยะของครัวเรือนเป้าหมายลดลงจากเดิมอย่างน้อย ร้อยละ 40
3.สถานที่ในหมู่บ้านสะอาด และสวยงามขึ้น

 

สรุปโครงการและถอดบทเรียน 13 ก.ย. 2566 13 ก.ย. 2566

 

ประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน -ประชุมติดตามและสรุปผลการดำเนินงานโครงการ จำนวน 30 ครัวเรือน ภาคีที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โรงเรียนบ้านตันหยงโป รวมผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 60 คน -การคืนข้อมูลการเปลี่ยนแปลง เรื่องปริมาณขยะ การนำขยะไปใช้ประโยชน์ ในด้านต่างๆให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย

 

สรุปบทเรียนการดำเนินงานทั้งในส่วนผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ -การส่งต่อข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่รับทราบข้อมูล เพื่อขับเคลื่อนงานต่อไป เช่น อบต. โรงเรียน
-การยกย่องเชิดชูเชิดชูเกียรติ บ้านต้นแบบจัดการขยะ จำนวน 10 ครัวเรือน

 

สำรวจ สถานการณ์ขยะในชุมชน ครั้งที่ 2 16 ก.ย. 2566 16 ก.ย. 2566

 

คณะทำงานลงสำรวจ/เก็บรวบรวมข้อมูลขยะในชุมชน 30 ชุด เพื่อจัดทำแผนผังต้นไม้ปัญหาและทราบสถานการณ์ปริมาณขยะ วิธีการกำจัด พฤติกรรมการคัดแยกขยะ ก่อนเริ่มโครงการ

 

ลงพื้นที่สำรวจสถานการณ์ขยะในชุมชนจำนวน 2 ครั้ง คือ ก่อนเริ่ม และสิ้นสุดโครงการ 3. โดยแบ่งให้แกนนำ 10 คน ลงสำรวจครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรือน (คนละ 3 ครัวเรือน)
4.นำข้อมูลที่ได้มารวบรวมและวิเคราะห์ในการประชุมคณะทำงาน

 

เวทีแลกเปลี่ยน โครงการย่อย ครั้งที่ 2 26 ก.ย. 2566 26 ก.ย. 2566

 

การดำเนินงานพบปะ พี่เลี้ยงและร่วมเวทีโครงการย่อยในการแลกเปลียน

 

รับทราบผลการดำเนินงานและแนวทางการดำเนินกิจกรรมในครั้งต่อๆไป

 

จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 30 ก.ย. 2566 30 ก.ย. 2566

 

ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม และจัดทำรายงานฉบับสมบูณณ์

 

มีรายงานการดำเนินงาน