directions_run

19. เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล


“ 19. เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสอาด กาดีโลน

ชื่อโครงการ 19. เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-10154-015 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"19. เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
19. เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " 19. เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-10154-015 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มกราคม 2566 - 15 พฤศจิกายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก องค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมไทยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงการดำรงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยายกลายเป็นครอบครัวเดี่ยว อีกทั้งสภาพ เศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป ทำให้พ่อแม่ต้องประกอบอาชีพนอกบ้าน ส่งผลให้สภาพครอบครัวขาดความอบอุ่น เด็ก และเยาวชนในครอบครัว ขาดการดูแลและชี้แนะในสิ่งที่เหมาะสม ประกอบกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัตน์ และวัฒนธรรมข้ามชาติ ทำให้เด็กและเยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่นสื่อลามกในโลกอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีผลทำให้เด็ก และเยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่ เหมาะสม ด้วยการขาดวุฒิภาวะและทักษะในการควบคุมอารมณ์ทางเพศของตนเอง เยาวชนจึงมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสม และ ขาดความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา จึงส่งผลทำให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ตำบลท่าเรือมีเด็กและเยาวชนที่อยู่ในโรงเรียนท่าแพผดุงวิทย์ จำนวน 610 คน เป็นเด็กกลุ่มเสี่ยงอายุ 15 -19 ปี จำนวน 92 คน เป็นชาย 34 คน หญิง 58 คน ปี 2564-2565 มีการยุติการตั้งครรภ์ 2 ราย มีการคลอด 5 ราย ซึ่งเด็กและเยาวชนวัยรุ่นเหล่านี้ขาดวุฒิภาวะในการจัดการกับปัญหาชีวิตที่เกิดขึ้น โดยครอบครัวขาดการดูแล ชี้แนะในเรื่องที่ไม่เหมาะสมหรือเด็กและเยาวชนรู้เท่าไม่ถึงการณ์เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีบนโลกออนไลน์ อีกทั้งเยาวชนบางกลุ่มขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และเกิดการดูแลสุขภาพร่างกายผิดวิธี ส่งผลต่อบุตรในครรภ์ประสบปัญหาสุขภาพไม่สมบูรณ์ น้ำหนักน้อย ในเยาวชนบางรายเมื่อเกิดการตั้งครรภ์ไม่พึ่งประสงค์เลือกใช้วิธีการแก้ปัญหาด้วยวิธีการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย อาจส่งผลต่อทารกในครรภ์ มีสภาวะการตกเลือด ติดเชื้อ บางรายรุนแรงจนถึงขั้นอาจเสียชีวิตได้ บางรายก็ต้องออกจากโรงเรียน เนื่องจากอับอายส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของแม่วัยรุ่นในอนาคต  สภาเด็ก และเยาวชนตำบลท่าเรือ จึงได้จัดทำโครงการเพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลการตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ขึ้น เพื่อให้เด็ก และเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการของตนเองเมื่อ เข้าสู่วัยรุ่น มีความรู้ และมีทักษะในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเองและสร้างความภาคภูมิใจในตนเอง และเพื่อสร้างเครือข่ายเด็ก และเยาวชนในระบบโรงเรียน และนอกระบบโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้สร้างแกนนำชุมชนในการขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในเยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมร่วมกับแผนร่วมทุน อบจ.และ สสส.
  2. จัดตั้งกลไกขับเคลื่อนงานสู่เป้าหมาย
  3. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
  4. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
  5. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน
  6. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
  7. จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา
  8. เวทีแสดงผลสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน
  9. เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ.
  10. ค่าเดินทางเซ็นสัญญา mou
  11. ปฐมนิเทศ
  12. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/5
  13. สั่งทำตราปั้ม
  14. ป้ายไวนิล
  15. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ครั้งที่1/5
  16. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่1/6
  17. แลกเปลี่ยนการเรียนรู้
  18. ประชุมคณะทำงานครั้งที่2/5
  19. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่2/5
  20. จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่1/3
  21. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่2/6
  22. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่1/5
  23. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่3/6
  24. ทีมติตาม อบจ.ลงพื้นที่ติดตามงาน
  25. ประชุมคณะทำงานครั้งที่3/5
  26. ประชุมคณะทำงานครั้งที่4/5
  27. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่2/5
  28. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่1/5
  29. ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์
  30. ประชุมคณะทำงานครั้งที่5/5
  31. ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม
  32. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่ 3/5
  33. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่4/6
  34. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่3/5
  35. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้ง4/5
  36. ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม
  37. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่5/6
  38. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่2/5
  39. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้ง5/5
  40. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ครั้งที่6/6
  41. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่3/5
  42. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่4/5
  43. จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่2/3
  44. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่5/5
  45. ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม
  46. จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่3/3
  47. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่4/5
  48. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่5/5
  49. จัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  50. เวทีแสดงผลสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ - กลุ่มแกนนำเยาวชนตำบลท 21

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1) ลดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของเด็กและเยาวชนชนและยังทำให้เด็กและเยาวชนที่กำลังเข้าสู่วัยรุ่นมีความคิดในการเห็นค่าตัวเองและนึกถึงปัญหาที่เกิดขึ้นตามมา ทั้งนี้การแก้ปัญหาทั้งนี้ การแก้ปัญหา และป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ไม่ได้เป็นเพียงการสร้างมาตรการ การให้ข้อมูลที่ถูกต้อง เปิดใจ และเข้าใจ จากผู้ใหญ่ในสังคม โดยเฉพาะ “ครอบครัว” จะช่วยวัยรุ่นห่างไกลจากปัญหานี้ได้ 2) เรายังอบรมและให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์และเฝ้าระวังเด็กที่มีพฤติกรรมการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ 3) เราจะอบรมและให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนได้รู้ถึงผลของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์และปัญหาของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าเดินทางเซ็นสัญญา mou

วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เดินทางไปเซ็นสัญญาที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ ตัวแทนแกนนำ 2 คนได้แก่ 1.นางสาวซอลีนา เตบสัน 2.นางสาวเซาดะฮ์ ตาเดอิน

ด้านคุณภาพ 1.เซ็นสัญญาเสร็จสมบูรณ์

 

2 0

2. ปฐมนิเทศ

วันที่ 28 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำความเข้าใจโครงการที่รับผิดชอบและวิธีปฏิบัติงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ ตัวแทนแกนนำ 2 คนได้แก่ 1.นางสาวเซาดะฮ์ ตาเดอิน 2.นางสาวโรสมา พันธ์เจริญ

ด้านคุณภาพ 1.ได้เข้าใจระบบการทำงานและขั้นตอนการทำงานมากขึ้น 2. ได้เรียนการเรียนรู้การจัดกิจกรรมและการดำเนินโครงการ จากโครงการอื่นๆ และได้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรมแต่ละโครงการ 3. เรียนรู้เรื่องการจัดทำเอกสารการเงินว่าต้องทำอย่างไรให้ถูกต้อง เอกสารอะไรบ้างที่ต้องแนบแต่ละกิจกรรม เช่น หนังสือเชิญวิทยากร กำหนดการ แผนที่การเดินทาง ใบสำคัญรับเงิน ใบลงทะเบียน ฯลฯ 4. เรียนรู้การลงเว็ปไซต์คนสร้างสุขว่าต้องลงกิจกรรมต่างๆให้ครบก่อน การลงรูปภาพกิจกรรม และลงไฟล์เอกสารการเงินต่างๆ

 

2 0

3. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/5

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ได้รู้บทบาทหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบในการทำกิจกรรม โดยแกนนำโครงการ 10 คน ประชุมเพื่อชี้แจงการทำงานแบ่งหน้าที่และประชุมกันในประเด็นการตั้งครรภ์วัยเรียนวิเคราะห์ข้อมูลเยาวชนในตำบลท่าเรือที่เป็นกลุ่มเสี่ยง เพื่อนำองค์ความรู้ไปใช้ในการดำเนินงาน
-ฝ่ายการเงิน(ดูแลเรื่องค่าใช้จ่ายในแต่ละกิจกรรม)
นางสาว ราเนียร์ เปรมใจ นางสาว เซาดะฮ์ ตาเดอิน นางสาว ซอลีนา เตบสัน นางสาว โรสมา พันธ์เจริญ นาย ธีรภัทร ชรินทร์ -ฝ่ายนันทนาการ นาย ธีรภัทร ชรินทร์ นาย ศฤงคาร เกษมสัน -ฝ่ายสื่อ นาย เมธาสิทธิ์ ไชยช่วย นางสาว สุกัญญา โดงกูล นาย เตาฟิก ดวงตา -ฝ่ายสวัสดีการ นางสาว โรศิลา เล๊ะทองคำ นางสาว นูรฮูดา เล๊ะทองคำ
นางสาว กัญวรา หล่าด้ำ -ฝ่ายการดูแลเอกสาร นางสาว ราเนียร์ เปรมใจ นางสาว เซาดะฮ์ ตาเดอิน นางสาว ซอลีนา เตบสัน นางสาว โรสมา พันธ์เจริญ นาย ธีรภัทร ชรินทร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ 1.ได้รู้บทบาทหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบในการทำกิจกรรม 2. เกิดแกนนําชุมชนในการ ขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ ไม่พร้อมในเยาวชน 3.เพื่อให้สร้างแกนนําชุมชนใน การขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ ไม่พร้อมในเยาวชน

 

10 0

4. สั่งทำตราปั้ม

วันที่ 2 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สั่งทำตราปั้ม 2 ดวง ได้แก่ ตราปั้มโครงการเพาะพันธุ์ปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลการตั้งครรภ์วัยเรียน ตำบลท่าเรือ และตราปั้มจ่ายแล้ว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับตราปั้ม 2 ดวง

 

2 0

5. ป้ายไวนิล

วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สั่งทำป้ายไวนิล 2 แผ่น แผ่นแรกคือป้าย โครงการเพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลต้ังครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ท่ี 3 ตําบลท่าเรือ
แผ่นที่สองคือป้ายปลอดบุหรี่และเครื่องดืมแอลกอฮอล์ ที่ร้าน มายเลิฟสตูดิโอ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับป้ายไวนิล 2 แผ่น แผ่นแรกคือป้ายโครงการ เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลต้ังครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ท่ี 3 ตําบลท่าเรือ แผ่นที่สองคือป้ายปลอดบุหรี่และเครื่องดืมแอลกอฮอล์

 

2 0

6. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ครั้งที่1/5

วันที่ 22 มีนาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเรื่องเพศศึกษาและการสร้าง ความตระหนักถึงความสำคัญเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม เยาวชนตำบลท่าเรือเยาวชนและเยาวชนในอำเภอท่าแพ จำนวน 90 คน และแกนนำโครงการ10 โดยได้รับเกียรติจากนายดนรอสัก เปรมใจ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ นายสอาด กาดีโลนรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือและผู้รับผิดชอบโครงการ มาเป็นประธานพิธีเปิดโครงการฯ ทำให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความภาคภูมิใจ ในตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน และกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ 90คน

ด้านคุณภาพ 1.ทำให้เยาวชนที่มาเข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความ ภาคภูมิใจ ในตนเอง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้ถามวิทยากรในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง ทักษะเรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้

 

50 0

7. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่1/6

วันที่ 25 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการจำนวน 10 คน ร่วมกันออกแบบ แบบฟอร์มการสำรวจพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อ การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และ หากลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาส ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่มีความสมัครใจเข้าร่วมทำกิจกรรมมีการรายผลการสำรวจเป็น รูปแบบข้อมูลตามสถิติ โดยแกนนำ 1 คนต้องสำรวจกลุ่มเป้าหมาย 5 คน รวมทั้งหมดที่ต้องสำรวจคือ 50คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องทักษะ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 90 ของเป้าหมาย 45คน 2.เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเอง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ร้อยละ 90 45คน 3.เยาวชนมีทักษะจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้ ร้อยละ 90 45คน

 

10 0

8. แลกเปลี่ยนการเรียนรู้

วันที่ 27 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แผนงานร่วมทุนฯ อบจ.สตูล จัดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1 ณ ห้องประชุมอาคารศูนย์ข้อมูลสารสนเทศการท่องเที่ยวจังหวัดสตูล โดยมีนายสัมฤทธิ์ เลียงประสิทธิ์ นายก อบจ.สตูล เป็นประธานแผนงานร่วมทุน ให้เกียรติเป็นประธานพิธีเปิดกิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อยครั้งที่ 1 1. ลงทะเบียน 2. รับฟังการนำเสนอโครงการแต่ละโครงการในการดำเนินโครงการไปถึงกิจกรรมไหนและปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรม 3. เรียนรูเรื่องการจัดทำเอกสารการเงิน เรื่องการลงเว็บปไซต์คนสร้างสุข และการปรับแผนโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ ตัวแทนแกนนำ 2 คนได้แก่
1.นางสาวซอลีนา เตบสัน 2.นายธีรภัทร ชรินทร์ ด้านคุณภาพ 1. มีผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน เจ้าหน้าที่การเงิน 1 คน และผู้จัดทำกิจกรรมลงเว็บไซต์คนสร้างสุข 1 คน 2. ได้เรียนการเรียนรู้การจัดกิจกรรมและการดำเนินโครงการ จากโครงการอื่นๆ และได้ทราบปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดกิจกรรมแต่ละโครงการ 3. เรียนรู้เรื่องการจัดทำเอกสารการเงินว่าต้องทำอย่างไรให้ถูกต้อง เอกสารอะไรบ้างที่ต้องแนบแต่ละกิจกรรม เช่น หนังสือเชิญวิทยากร กำหนดการ แผนที่การเดินทาง ใบสำคัญรับเงิน ใบลงทะเบียน ฯลฯ 4. เรียนรู้การลงเว็ปไซต์คนสร้างสุขว่าต้องลงกิจกรรมต่างๆให้ครบก่อน การลงรูปภาพกิจกรรม และลงไฟล์เอกสารการเงินต่างๆ

 

2 0

9. ประชุมคณะทำงานครั้งที่2/5

วันที่ 8 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการ10คนได้ร่วมกันประชุมคณะแกนนำโครงการ เพื่อชี้แจงบทบาทหน้าที่และวางแผนการทำงานในแต่ละประเด็น -สถานที่ -กลุ่มเป้าหมาย
-วิทยากร -หน้าที่แต่ล่ะฝ่าย สวัสดิการ นัทนาการ ฝ่ายสื่อ -อาหารและเบรกต่างๆ เพื่อจัดการอบรมในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ 1.ได้รู้บทบาทหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบในการทำกิจกรรม 2. เกิดแกนนําชุมชนในการ ขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ ไม่พร้อมในเยาวชน 3.เพื่อให้สร้างแกนนําชุมชนใน การขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ ไม่พร้อมในเยาวชน

 

10 0

10. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่2/5

วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สภาเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ ร่วมกันจัด"โครงการเพาะพันธ์ปัญญาเมล็ดพันธ์ุต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใส ห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน ตำบลท่าเรือ" เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร อบรมเรื่องเพศศึกษาและการสร้าง ความตระหนักถึงความสำคัญเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ให้เกียรติเปิดงานโดย นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ นายดลรอสัก เปรมใจ และ รองปลัดตำบลท่าเรือ นายสอาด กาดีโลน สถานที่จัด องค์กรบริหารส่วนตำบลท่าเรือ อ.ท่าแพ จ.สตูล 1. นันทนาการเป็นผู้นาทากิจกรรมละลายพฤติกรรม เพื่อสร้างความคุ้นเคยให้แก่ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2. อบรบให้ความรู้โดยวิทยากร นายณรงค์เวทย์ แซ่ห้าว 3.ผู้นำกระบวนการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยดำเนินกิจกรรม ดังนี้ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสถานการณ์การตั้งครรภ์ และคลอดบุตรก่อนวัยอันควร
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องบทบาททางเพศที่แตกต่างกันระหว่างชายหญิง กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
4.ผู้นากระบวนการกล่าวสรุปประเด็นทั้งหมดพร้อมทั้งประเมินผลการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำ10คนและกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ 50 คน ด้านคุณภาพ 1.ทำให้ นักเรียนโรงเรียนท่าแพผดุงวิทย์ มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความ ภาคภูมิใจ ในตนเอง โดยได้รับการอบรมทักษะให้คำปรึกษาจาก จนท.รพ.ท่าแพ

 

50 0

11. จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่1/3

วันที่ 15 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดตั้งแม่อาสา 5 คนเพื่อเป็นที่ปรึกษาแนวทาง และให้ความช่วยเหลือแก่เยาวชนที่มีปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ โดยรับสมัครแม่อาสาซึ่งเป็นบุคคล ที่ได้รับการยอมรับของผู้ปกครอง และเยาวชน มาฝึกอบรมการให้คำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่และดำเนินการให้คำปรึกษาในชุมชน โดยได้รับเกียรติจากนายสัมฤทธิ์ เลียงประสิทธิ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล นายดนรอสัก เปรมใจ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือและนายสอาด กาดีโลน รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือและผู้รับผิดชอบโครงการให้เกียรติมาเปิดพิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ1.แกนนำโครงการ10คน
2. นายสัมฤทธิ์ เลียงประสิทธิ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล นายดนรอสัก เปรมใจ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือและนายสอาด กาดีโลน รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือและผู้รับผิดชอบโครงการ 3.ทีมติดตามของ องค์การบริหารส่วนจังหวัด 2 คน 4.แม่อาสา5คน ด้านคุณภาพ1.ได้แม่อาสาจำนวน 5 คนที่ได้รับการอบรมทักษะการให้คำปรึกษาจาก จนท.รพ.ท่าแพ 2.แม่อาสามีข้อมูลเยาวชนกลุ่มเสี่ยง 3.มีแผนการทำงานติดตามพฤติกรรมเสี่ยงและแนวทางป้องกันแก้ไข

 

30 0

12. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่2/6

วันที่ 20 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการจำนวน 10 คน ร่วมกันออกแบบ แบบฟอร์มการสำรวจพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อ การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และ หากลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาส ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่มีความสมัครใจเข้าร่วมทำกิจกรรมมีการรายผลการสำรวจเป็น รูปแบบข้อมูลตามสถิติ โดยแกนนำ 1 คนต้องสำรวจกลุ่มเป้าหมาย 5 คน รวมทั้งหมดที่ต้องสำรวจคือ 50คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องทักษะ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 90 ของเป้าหมาย 45คน 2.เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเอง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ร้อยละ 90 45คน 3.เยาวชนมีทักษะจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้ ร้อยละ 90 45คน

 

10 0

13. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่1/5

วันที่ 27 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน เพื่อให้เกิดการทำงานเป็นทีม เป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างการทำงานเป็นทีมด้วยความสุข สนุกสนาน ลดความขัดแย้ง สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี เพิ่มความรัก ความผูกพัน เพิ่มความสามัคคี เพื่อสร้างให้เยาวชนรักตัวเอง รู้สึกตัวเองมีคุณค่า ไม่หลงไปกับสิ่งยั่วยวนให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์โดยจะมีกิจกรรมต่างๆนำโดยแกนนำ10คน เพื่อให้เด็กและได้รู้จักการทำงานเป็นทีมและให้เด็กและเยาวชนได้ถอดบทเรียนในหัวข้อปัญหาและวิธีแก้ไขการตั้งครรถ์ก่อนวัยอันควรเพื่อที่วัยรุ่นจะได้มีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ และเข้าในเพศศึกษามากยิ่งขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาน 1.แกนนำโครงการ10คนและกลุ่เป้าหมาย50คน

ด้านคุณภาพ 1.วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
2.เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ 3.วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น
4.วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้

 

50 0

14. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่3/6

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการจำนวน 10 คน ร่วมกันออกแบบ แบบฟอร์มการสำรวจพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อ การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ และ หากลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาส ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่มีความสมัครใจเข้าร่วมทำกิจกรรมมีการรายผลการสำรวจเป็น รูปแบบข้อมูลตามสถิติ โดยแกนนำ 1 คนต้องสำรวจกลุ่มเป้าหมาย 5 คน รวมทั้งหมดที่ต้องสำรวจคือ 50คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องทักษะ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 90 ของเป้าหมาย 45คน 2.เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเอง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ร้อยละ 90 45คน 3.เยาวชนมีทักษะจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้ ร้อยละ 90 45คน

 

10 0

15. ทีมติตาม อบจ.ลงพื้นที่ติดตามงาน

วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทีมติตามองค์การบริหารส่วนจังหวัดลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานโครงการ เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลต้ังครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ท่ี 3 ตําบลท่าเรือ อําเภอท่าแพ ณ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ อ.ท่าแพ จ.สตูล โดยร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้เข้ามาถ่ายทำเพื่อเป็นตัวอย่างในการทำโครงการครั้งต่อไปและได้มีตัวแทนบางส่วนที่ถูกสัมภาษณ์เพื่อที่ฝ่ายสื่อจะได้นำไปถ่ายทอด

 

0 0

16. ประชุมคณะทำงานครั้งที่3/5

วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

สภาเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ ได้ร่วมกันประชุมคณะแกนนำโครงการ วางแผนการทำงานในแต่ละประเด็น 1. วางแผนการทำงานในแต่ละประเด็น 2.วิเคราะห์และหาข้อมูลเด็กและเยาวชนที่มีกลุ่มเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 3.วางแผนการดำเนินงานในการจัดกิจกรรม กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่1/5

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีแกนนําขับเคลื่อนงานไม่น้อยกว่า 5 คน มาจาก หลากหลายเครือข่ายและเป็นที่ยอมรับของเยาวชน 2.มีกติกาการทํางานของแกนนํา 3.แกนนํามีข้อมูลเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและมีการติดตาม พฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง 4.มีแผนการขบัเคลื่อนงาน

 

10 0

17. ประชุมคณะทำงานครั้งที่4/5

วันที่ 22 มิถุนายน 2566 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สภาเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ ได้ร่วมกันประชุมคณะแกนนำโครงการ วางแผนการทำงานในแต่ละประเด็นโดยมีนางนฤมล ฮะอุรา เข้าร่วมประชุมเพื่อติดตามผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ประเด็นการประชุมมีดังนี้ 1. วางแผนการทำงานในแต่ละประเด็น 2.วิเคราะห์และหาข้อมูลเด็กและเยาวชนที่มีกลุ่มเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร 3.วางแผนการดำเนินงานในการจัดกิจกรรม กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่2/5

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ 1.มีแกนนําขับเคลื่อนงานไม่น้อยกว่า 5 คน มาจากสภาเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ 2.มีการวางแผนการทํางานของแกนนํา 3.แกนนํามีข้อมูลเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและมีการติดตาม พฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง 4.มีแผนการขับเคลื่อนงาน

 

10 0

18. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่2/5

วันที่ 29 มิถุนายน 2566 เวลา 11:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การจัดกิจกรรมอย่างสม่ำเสมอ 2 เดือนครั้ง ซึ่งประกอบไปด้วยการทำกิจกรรมร่วมกัน ได้แก่ 1. กิจกรรมพื้นบ้านมหาสนุก กิจกรรมตอบให้ได้ใบให้เป็น กิจกรรมนี้จะคล้ายเกมใบ้คำที่หลายๆ คนเคยเล่นกันมาแล้ว แต่ต่างกันตรงที่ ผู้ใบ้สามารถใบ้คำด้วยท่าทางได้เพียง 3 ท่าและห้ามออกเสียงใดๆ ซึ่งสมาชิกในทีมจะต้องเดาคำตอบจากผู้ที่ใบ้ภายในเวลาจำกัด โดยเวลาที่พวกเขาช่วยกันเดาคำศัพท์ ถือเป็นการฝึกความสามัคคีให้แก่สมาชิกในทีมและช่วยลดความเขอะเขินได้ดีทีเดียว 2. กิจกรรมเหยียบลูกโปร่ง เป็นหนึ่งในเกมยอดนิยมที่เล่นกันเพื่อความสนุกสนาน ส่วนกติกาการเล่นก็ง่ายนิดเดียว โดยกำหนดขอบเขตการเล่น จากนั้นนำลูกโป่งผูกติดกับข้อเท้าข้างใดข้างหนึ่ง หลังจากที่ทุกคนพร้อมให้รอฟังสัญญาณจากนกหวีด และทุกคนต้องวิ่งไปเหยียบลูกโป่งของคนอื่นให้แตก ใครที่ลูกโป่งแตกต้องออกจากพื้นที่การแข่งขัน ที่สำคัญต้องระวังลูกโป่งของตัวเองเช่นกัน ใครเหลือลูกโป่งเป็นคนสุดท้ายถือว่าเป็นผู้ชนะ 3. กิจกรรมแสดงความสามารถพิเศษเช่น ร้องเพลง เต้น เล่นดนตรี เป็นต้น 4.  กิจกรรมหยิบของขวัญ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาน 1.แกนนำโครงการ10คนและกลุ่เป้าหมาย50คน ด้านคุณภาพ 1เสริมสร้างให้มีการคิดนอกกรอบ ทำให้มีหลักมีวิธีคิดที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายด้วยวิธีคิดที่หลากหลาย สามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการทำงานทำให้ทำอยู่ร่วมกันในสังคมได้

 

50 0

19. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่1/5

วันที่ 30 มิถุนายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

นําผลที่เป็นข้อมูลทางสถิติมา วิเคราะห์และรายงานผลการติดตาม 2 เดือนครั้ง

1.จากการแบ่งความรับผิดชอบว่าใครติดตามใคร 2. จัดประชุมแม่อาสาเพื่อรายงานความคืบหน้าของคนที่รับผิดชอบติดตาม หากมีปัญหาต้องลงไปตักเตือน ต้องมาหา วิธีการที่เหมาะสมก่อน 3.ต้องจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างเยาวชนกับแม่อาสาเพื่อให้เยาวชนเกิดความไว้วางใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำ 10 คน
2. แม่อาสา5คน

ด้านคุณภาพ 1.จากการติดตามพบว่าอัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ไม่เกิน 23 ต่อพันการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี

 

30 0

20. ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ โครงการเพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายไวนิล บันไดผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์โครงการ

 

0 0

21. ประชุมคณะทำงานครั้งที่5/5

วันที่ 19 สิงหาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

โดยแกนนำโครงการ 10 คน ประชุมเพื่อชี้แจ้งแผนการทำงาน แบ่งบทบาทหน้าที่ ติดตามประชุมรวบรวมผลลัพธ์ของกลุ่ม วางแผนการจัดกิจกรรมในส่วนที่เหลือ วางแผนมอบหมายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ 1.ได้รู้บทบาทหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบในการทำกิจกรรม 2. เกิดแกนนําชุมชนในการ ขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ ไม่พร้อมในเยาวชน 3.เพื่อให้สร้างแกนนําชุมชนใน การขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ ไม่พร้อมในเยาวชน

 

10 0

22. ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

วันที่ 22 สิงหาคม 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

 

1 0

23. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่ 3/5

วันที่ 24 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเรื่องเพศศึกษาและการสร้าง ความตระหนักถึงความสำคัญเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม เยาวชนตำบลท่าเรือเยาวชนและเยาวชนในอำเภอท่าแพ จำนวน 50 คน และแกนนำโครงการ10 โดยได้รับเกียรติจากนายดนรอสัก เปรมใจ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ นายสอาด กาดีโลนรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือและผู้รับผิดชอบโครงการ มาเป็นประธานพิธีเปิดโครงการฯ ทำให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความภาคภูมิใจ ในตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน และกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ 50คน

ด้านคุณภาพ 1.ทำให้เยาวชนที่มาเข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความ ภาคภูมิใจ ในตนเอง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้ถามวิทยากรในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง ทักษะเรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้

 

50 0

24. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่4/6

วันที่ 26 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการจำนวน 10 คน ร่วมกันลงพื้นที่ สำรวจพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อ การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ กลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาส ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่มีความสมัครใจเข้าร่วมทำกิจกรรมมีการรายผลการสำรวจเป็น รูปแบบข้อมูลตามสถิติ โดยแกนนำ 1 คนต้องสำรวจกลุ่มเป้าหมาย 5 คน รวมทั้งหมดที่ต้องสำรวจคือ 50คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องทักษะ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่าของเป้าหมาย 45คน
2.เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเอง 3.เยาวชนมีทักษะจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้

 

10 0

25. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่3/5

วันที่ 27 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน เพื่อให้เกิดการทำงานเป็นทีม เป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างการทำงานเป็นทีมด้วยความสุข สนุกสนาน ลดความขัดแย้ง สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี เพิ่มความรัก ความผูกพัน เพิ่มความสามัคคี เพื่อสร้างให้เยาวชนรักตัวเอง รู้สึกตัวเองมีคุณค่า ไม่หลงไปกับสิ่งยั่วยวนให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์โดยจะมีกิจกรรมต่างๆนำโดยแกนนำ10คน เพื่อให้เด็กและได้รู้จักการทำงานเป็นทีมและให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยการรวมกลุ่มกันปรับปรุงสะพานข้ามคลองปาหนัน ที่ผ่านการใช้งาน ปรับปรุงทำความสะอาด ทาสี สร้างประโยชน์ให้กับชุมชนของตนเอง เกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาน 1.แกนนำโครงการ10คนและกลุ่เป้าหมาย50คน ด้านคุณภาพ 1เสริมสร้างให้มีการคิดนอกกรอบ ทำให้มีหลักมีวิธีคิดที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายด้วยวิธีคิดที่หลากหลาย สามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการทำงานทำให้ทำอยู่ร่วมกันในสังคมได้

 

50 0

26. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้ง4/5

วันที่ 31 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเรื่องเพศศึกษาและการสร้าง ความตระหนักถึงความสำคัญเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม เยาวชนตำบลท่าเรือเยาวชนและเยาวชนในอำเภอท่าแพ จำนวน 50 คน และแกนนำโครงการ10 โดยได้รับเกียรติจากนายดนรอสัก เปรมใจ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ นายสอาด กาดีโลนรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือและผู้รับผิดชอบโครงการ มาเป็นประธานพิธีเปิดโครงการฯ ทำให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความภาคภูมิใจ ในตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน และกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ 50คน

ด้านคุณภาพ 1.ทำให้เยาวชนที่มาเข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความ ภาคภูมิใจ ในตนเอง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้ถามวิทยากรในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง ทักษะเรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้

 

50 0

27. ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

 

1 0

28. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่5/6

วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

แกนนำโครงการจำนวน 10 คน ร่วมกันลงพื้นที่ สำรวจพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อ การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ กลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาส ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่มีความสมัครใจเข้าร่วมทำกิจกรรมมีการรายผลการสำรวจเป็น รูปแบบข้อมูลตามสถิติ โดยแกนนำ 1 คนต้องสำรวจกลุ่มเป้าหมาย 5 คน รวมทั้งหมดที่ต้องสำรวจคือ 50คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ
1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องทักษะ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ
- เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเอง 3.เยาวชนมีทักษะจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้

 

10 0

29. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่2/5

วันที่ 3 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

โดยการนำผลที่เป็นข้อมูลทางสถิติมา วิเคราะห์และรายงานผลการติดตาม 2 เดือนครั้ง - จากการแบ่งความรับผิดชอบว่าใครติดตามใคร - จัดประชุมแม่อาสาเพื่อรายงานความคืบหน้าของคนที่รับผิดชอบติดตาม หากมีปัญหาต้องลงไปตักเตือน ต้องมาหาวิธีการที่เหมาะสมก่อน - ต้องจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างเยาวชนกับแม่อาสาเพื่อให้เยาวชนเกิดความไว้วางใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ไม่เกิน 23 ต่อพันการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี

 

30 0

30. อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้ง5/5

วันที่ 7 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมเรื่องเพศศึกษาและการสร้าง ความตระหนักถึงความสำคัญเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม เยาวชนตำบลท่าเรือเยาวชนและเยาวชนในอำเภอท่าแพ จำนวน 50 คน และแกนนำโครงการ10 โดยได้รับเกียรติจากนายดนล๊ะ จิตกาหลง รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ นายสอาด กาดีโลนรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือและผู้รับผิดชอบโครงการ มาเป็นประธานพิธีเปิดโครงการฯ ทำให้เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความภาคภูมิใจ ในตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน และกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ 50คน

ด้านคุณภาพ 1.ทำให้เยาวชนที่มาเข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เข้าใจเรื่อง เพศศึกษาพัฒนาการของ ตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น การสร้างทักษะใน การจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องเพศ และการสร้างความตระหนักถึง ความสำคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง และสร้างความ ภาคภูมิใจ ในตนเอง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้ถามวิทยากรในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง ทักษะเรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้

 

50 0

31. สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ครั้งที่6/6

วันที่ 9 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ด้านปริมาณ 1.แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องทักษะ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่าของเป้าหมาย 45คน 2.เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเอง 3.เยาวชนมีทักษะจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาณ
แกนนำโครงการ 10 คน ด้านคุณภาพ เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องทักษะ เรื่องเพศศึกษา พัฒนาการของตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และสามารถจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 1.มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่าของเป้าหมาย 45คน 2.เยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจเรื่อง เพศศึกษาและพัฒนาการของตนเอง 3.เยาวชนมีทักษะจัดการกับ สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศได้

 

10 0

32. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่3/5

วันที่ 10 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

โดยการนำผลที่เป็นข้อมูลทางสถิติมา วิเคราะห์และรายงานผลการติดตาม 2 เดือนครั้ง - จากการแบ่งความรับผิดชอบว่าใครติดตามใคร - จัดประชุมแม่อาสาเพื่อรายงานความคืบหน้าของคนที่รับผิดชอบติดตาม หากมีปัญหาต้องลงไปตักเตือน ต้องมาหาวิธีการที่เหมาะสมก่อน - ต้องจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างเยาวชนกับแม่อาสาเพื่อให้เยาวชนเกิดความไว้วางใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ไม่เกิน 23 ต่อพันการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี

 

30 0

33. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่4/5

วันที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน เพื่อให้เกิดการทำงานเป็นทีม เป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างการทำงานเป็นทีมด้วยความสุข สนุกสนาน ลดความขัดแย้ง สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี เพิ่มความรัก ความผูกพัน เพิ่มความสามัคคี เพื่อสร้างให้เยาวชนรักตัวเอง รู้สึกตัวเองมีคุณค่า ไม่หลงไปกับสิ่งยั่วยวนให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์โดยจะมีกิจกรรมต่างๆนำโดยแกนนำ10คน เพื่อให้เด็กและได้รู้จักการทำงานเป็นทีมและให้เด็กและเยาวชนได้ถอดบทเรียนในหัวข้อปัญหาและวิธีแก้ไขการตั้งครรถ์ก่อนวัยอันควรเพื่อที่วัยรุ่นจะได้มีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ และเข้าในเพศศึกษามากยิ่งขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ด้านปริมาน 1.แกนนำโครงการ10คนและกลุ่เป้าหมาย50คน

ด้านคุณภาพ 1.วัยรุ่นมีทักษะและภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเพศ 2.เสริมสร้างความภาคภูมิใจในตนเองของวัยรุ่น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต และพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องเพศ 3.วัยรุ่นมีความเข้าใจเรื่องอนามัยเจริญพันธ์ เพศศึกษามากขึ้น 4.วัยรุ่นสามารถให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเรื่องเพศ และสามารถช่วยเหลือเพื่อนในโรงเรียน ในเรื่องปัญหาทางเพศ และสุขภาพได้

 

50 0

34. จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่2/3

วันที่ 16 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อเป็นที่ปรึกษาแนว และให้ความช่วยเหลือแก่เยาวชนที่มีปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึง ประสงค์  โดยรับสมัครแม่อาสาซึ่งเป็นบุคคล ที่ได้รับการยอมรับของผู้ปกครอง และเยาวชน มาฝึกอบรมการให้คำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่และดำเนินการให้คำปรึกษาในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4. .เพื่อสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อตัวเองให้กับเยาวชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์  1 เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมสร้างคุณค่าให้ตัวเองแต่ละครั้ง ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย 2. เยาวชนรู้สึกตัวเองมีคุณค่า(จากแบบสอบถามและพูดคุย)ร้อยละ 90

 

30 0

35. กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่5/5

วันที่ 17 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน เพื่อให้เกิด เสริมสร้างการทำงานเป็นทีมด้วยความสุข สนุกสนาน ลดความขัดแย้ง สร้างสัมพันธ์ภาพที่ดี เพิ่มความรัก ความผูกพัน เพิ่มความสามัคคี เพื่อสร้างให้เยาวชนรักตัวเอง รู้สึกตัวเองมีคุณค่า ไม่หลงไปกับสิ่งยั่วยวนให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์โดยจะมีกิจกรรมต่างๆนำโดยแกนนำ10คน เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ช่วยลดปัญหาโลกร้อน เพื่อรณรงค์ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้กับประชาชนในพื้นที่ ได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาต้นไม้ที่ปลูกไว้แล้ว เพื่อสร้างความรักความสมัครสมานสามัคคี ภายใต้ “ร่วมคิด ร่วมทำ”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สร้างความเข้าใจ และทำให้ตระหนักถึงความสำคัญของ การดูแลรักษาทรัพยากรต้นไม้ที่ปลูกไว้ ปลูกจิตสำนึกและสร้างความตระหนักให้กับเยาวชน

 

50 0

36. ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

วันที่ 21 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม

 

1 0

37. จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่3/3

วันที่ 23 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อเป็นที่ปรึกษาแนว และให้ความช่วยเหลือแก่เยาวชนที่มีปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พึง ประสงค์  โดยรับสมัครแม่อาสาซึ่งเป็นบุคคล ที่ได้รับการยอมรับของผู้ปกครอง และเยาวชน มาฝึกอบรมการให้คำปรึกษาจากเจ้าหน้าที่และดำเนินการให้คำปรึกษาในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4. .เพื่อสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อตัวเองให้กับเยาวชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์  1 เยาวชนเข้าร่วมกิจกรรมสร้างคุณค่าให้ตัวเองแต่ละครั้ง ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมาย 2. เยาวชนรู้สึกตัวเองมีคุณค่า(จากแบบสอบถามและพูดคุย)ร้อยละ 90

 

30 0

38. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่4/5

วันที่ 24 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

โดยการนำผลที่เป็นข้อมูลทางสถิติมา วิเคราะห์และรายงานผลการติดตาม 2 เดือนครั้ง - จากการแบ่งความรับผิดชอบว่าใครติดตามใคร - จัดประชุมแม่อาสาเพื่อรายงานความคืบหน้าของคนที่รับผิดชอบติดตาม หากมีปัญหาต้องลงไปตักเตือน ต้องมาหาวิธีการที่เหมาะสมก่อน - ต้องจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างเยาวชนกับแม่อาสาเพื่อให้เยาวชนเกิดความไว้วางใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัตถุประสงค์ข้อที่ 5 เพื่อลดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในเยาวชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์  อัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ไม่เกิน 23 ต่อพันการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี

 

30 0

39. การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่5/5

วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

โดยการนำผลที่เป็นข้อมูลทางสถิติมา วิเคราะห์และรายงานผลการติดตาม 2 เดือนครั้ง - จากการแบ่งความรับผิดชอบว่าใครติดตามใคร - จัดประชุมแม่อาสาเพื่อรายงานความคืบหน้าของคนที่รับผิดชอบติดตาม หากมีปัญหาต้องลงไปตักเตือน ต้องมาหาวิธีการที่เหมาะสมก่อน - ต้องจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างเยาวชนกับแม่อาสาเพื่อให้เยาวชนเกิดความไว้วางใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วัตถุประสงค์ข้อที่ 5 เพื่อลดการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในเยาวชน ตัวชี้วัดผลลัพธ์  อัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ไม่เกิน 23 ต่อพันการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี

 

30 0

40. เวทีแสดงผลสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เชิญกลุ่มเป้าหมายผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน ชุมชนได้มาร่วมรับทราบผลการดำเนินงาน สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และวางแผนให้เกิดความ ต่อเนื่องในอนาคต จัดกิจกรรมประกวดการผลิต(คลิปวิดีโอ)สื่อสร้างสรรค์สังคมด้าน การรู้เท่าทันด้านเพศศึกษา รู้เท่าทันถึง ปัญหาและความสำคัญของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ รู้เท่าทันตนเองเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อสร้างให้เยาวชนรักตัวเอง รู้สึกตัวเองมีคุณค่า ไม่หลงไปกับสิ่งยั่วยวนให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
1. กิจกรรมพื้นบ้านมหาสนุก กิจกรรมตอบให้ได้ใบให้เป็น
2. กิจกรรมการโต้วาที และแทรกความรู้ทัศนคติในการใช้ชีวิต 3. เพื่อส่งเสริมให้มีกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น 4. กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ เพื่อให้เยาวชนถอดรหัสความรู้ความคิดและถ่ายทอดออกมาในงานศิลปะ

 

50 0

41. จัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

วันที่ 30 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์

 

1 0

42. เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ.

วันที่ 8 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ.

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้สร้างแกนนำชุมชนในการขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในเยาวชน
ตัวชี้วัด : 1.มีแกนนำขับเคลื่อนงานไม่น้อยกว่า 5 คน มาจากหลากหลายเครือข่ายและเป็นที่ยอมรับของเยาวชน 2.มีกติกาการทำงานของแกนนำ 3.แกนนำมีข้อมูลเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและมีการติดตามพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง 4.มีแผนการขับเคลื่อนงาน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 21
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ - กลุ่มแกนนำเยาวชนตำบลท 21

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้สร้างแกนนำชุมชนในการขับเคลื่อนปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในเยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมร่วมกับแผนร่วมทุน อบจ.และ สสส. (2) จัดตั้งกลไกขับเคลื่อนงานสู่เป้าหมาย (3) การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ (4) อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ (5) กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน (6) สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ (7) จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา (8) เวทีแสดงผลสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน (9) เบิกดอกเบี้ยนำมาคืน อบจ. (10) ค่าเดินทางเซ็นสัญญา mou (11) ปฐมนิเทศ (12) ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/5 (13) สั่งทำตราปั้ม (14) ป้ายไวนิล (15) อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ครั้งที่1/5 (16) สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่1/6 (17) แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ (18) ประชุมคณะทำงานครั้งที่2/5 (19) อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่2/5 (20) จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่1/3 (21) สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่2/6 (22) กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่1/5 (23) สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่3/6 (24) ทีมติตาม อบจ.ลงพื้นที่ติดตามงาน (25) ประชุมคณะทำงานครั้งที่3/5 (26) ประชุมคณะทำงานครั้งที่4/5 (27) กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่2/5 (28) การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์  ครั้งที่1/5 (29) ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์ (30) ประชุมคณะทำงานครั้งที่5/5 (31) ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม (32) อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่ 3/5 (33) สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่4/6 (34) กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่3/5 (35) อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้ง4/5 (36) ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม (37) สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่5/6 (38) การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์  ครั้งที่2/5 (39) อบรมให้ความรู้และความเข้าใจ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับกลุ่มเป้าหมาย และตระหนักถึงปัญหาและความสำคัญ ของการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้ง5/5 (40) สำรวจข้อมูลทางสถิติก่อนหลังด้านพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ครั้งที่6/6 (41) การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่3/5 (42) กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่4/5 (43) จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่2/3 (44) กิจกรรมสร้างทัศนคติเชิงบวกและสร้างคุณค่าให้ตัวเองของเยาวชน ครั้งที่5/5 (45) ปรึกษาพี่เลี้ยงเรื่องการจัดกิจกรรม (46) จัดตั้งครอบครัวตัวแม่อาสา ครั้งที่3/3 (47) การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์  ครั้งที่4/5 (48) การติดตามผลในกลุ่มเป้าหมายที่มีความ เสี่ยงในการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ครั้งที่5/5 (49) จัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์ (50) เวทีแสดงผลสรุปผลการดำเนินงานและถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


19. เพาะปัญญาเมล็ดพันธุ์ต้นกล้าเด็กและเยาวชนวัยใสห่างไกลตั้งครรภ์วัยเรียน บ้านไร่ทอน หมู่ที่ 3 ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-10154-015

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสอาด กาดีโลน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด