task_alt

17. วัยรุ่นวัยใส ห่างไกลการตั้งครรภ์ในวัยเรียน บ้านทุ่งมะปรัง

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ 17. วัยรุ่นวัยใส ห่างไกลการตั้งครรภ์ในวัยเรียน บ้านทุ่งมะปรัง

ชุมชน หมู่ 1 ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 65-10154-018 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มกราคม 2566 ถึงเดือน มิถุนายน 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ ,ตราสัญลักษณ์โครงการ สสส. สำหรับติดในบริเวณที่จัดกิจกรรม

วันที่ 5 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ ,ตราสัญลักษณ์โครงการ สสส. สำหรับติดในบริเวณที่จัดกิจกรรม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าจัดทำป้ายชื่อโครงการ ,ตราสัญลักษณ์โครงการ สสส. สำหรับติดในบริเวณที่จัดกิจกรรม

 

0 0

2. ค่าเดินทางเข้าร่วมประชุมกับ สสส.

วันที่ 5 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อปรึกษาพี่เลี้ยงและเข้าร่วมประชุมกับ สสส.

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อปรึกษาพี่เลี้ยงและเข้าร่วมประชุมกับ สสส.

 

3 0

3. ถอนเงิน เปิดบัญชี 500 บาท

วันที่ 16 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ถอนเงิน เปิดบัญชี 500 บาท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ถอนเงิน เปิดบัญชี 500 บาท

 

0 0

4. ประชุมคลี่โครงการ

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 10:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง : ได้มีการนัดพี่เลี้ยง คุณซอร์ฟีเย๊าะ สองเมือง เพื่อ ร่วมแจกแจงรายละเอียดให้กับคณะทำงานในโครงการ รวมถึงแกนนำหลักที่สนใจ

            เข้าร่วมรับฟังโดยมีแกนนำหลักเข้าร่วมประชุม รายชื่อ ดังนี้

            1. กำนันตำบลวังประจัน นายเรวัฒน์ บูอีตำ

            2. ผู้ใหญ่บ้าน ม.1 นายมาแอน ปานกลาย

            3. อบต. ม.1 นาย กอเฉ็ม โต๊ะดุสน

            4. อีหม่าม ม.1 นายกอดาษ เจ๊ะด๊ะ

            5. ครูอนามัยโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง นางสาว โซโรดา หลังแดง

            6. ครูกศน.ตำบลวังประจัน นาง วนิดา รักเมือง
            7. ผู้นำองกรค์อิสระ นาย ปฏิวัติ ปะดุกา

            8. ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย นันทวัฒน์ เต๊ะสมัน ประธาน อสม.1 บ้านทุ่งมะปรัง

            9. เจ้าหน้าที่การเงินโครงการ นายอิสมาแอน อุสนุน  เจ้าหน้าที่ธุรการ รพ.สต. วังประจัน

            10. คณะทำงานโครงการ นาง อภิยา เหตุทอง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.วังประจัน
            11. คณะทำงานโครงการ นาง ฮามีดะ หลังยาหน่าย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.สต.วังประจัน

            12. ประธานอสม.ตำบลวังประจัน นาง อาซีซ๊ะ ละใบโดย

ผลผลิต ( Output ) :      มีผู้เข้าร่วมประชุม แจกแจงรายละเอียดโครงการ จำนวน 12 คน
ผลลัพธ์ ( Outcome ) :      ได้มีการนัดประชุม ครั้งต่อไปเพื่อ วางแผนการจัดทำกิจกรรม ได้ตามเป้าหมาย

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม :  ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชนและได้ขยายเป้าหมายให้ ตัวแทนวัยรุ่น อายุ 12 - 19 ปี
                                        เข้าร่วมกิจกรรมเพิ่ม หมู่บ้านละ 5 คน เพื่อเป็นแกนนำ ในตำบลวังประจำวันได้ครอบคลุม ทั้งตำบล

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

พี่เลี้ยงโครงการแจกแจงรายละเอียดของแผนและการดำเนินการในโครงการ โดยการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบงานตามแผน

 

0 0

5. ประชุมครั้งที่ 1/4

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลผลิต (Output) :  แกนนำเข้าร่วมประชุมและให้ความร่วมมือ วางแผนจัดทำโครงการ จำนวาน 30 คน

ผลลัพธ์ ( Outcom ) : ขยายพื้นที่กลุ่มเป้าหมายโดยรวมทั้งตำบล เพื่อขยายแกนนำให้ครอบคลุมทั้งตำบล
                เพื่อให้ทุกหมู่บ้านมีตัวแทนแกนนำวัยรุ่น โดยมีเป้าหมายหลัก คือ นักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังจำนวน 20 คน

                นักเรียนกศน.ตำบลวังประจันจำนวน 10 คน นักเรียนจากต่างโรงเรียนที่สนใจ อาศัยอยู่ในพื้นหมู่ 1 บ้านทุ่งมะปรัง จำนวน 10 คน

                ตัวแทนวัยรุ่นที่สนใจจาก ม.2, ม.3 ,ม.4 จำนวน 10 คน รวมสมาชิกครบตามเป้าหมายจำนวน 50 คน

                เพื่อจัดตั้งชมรม stop teen momต่อไป

-  ในชุมชนและตำบล มีกฎ กติกาชุมชนเป็น แนวปฏิบัติ เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียนโดยมี ภาคี เครือข่าย
    ช่วยกัน ออกแบบ กฎ ,กติกา แนวปฏิบัติชุมชน นำเสนอ นายกฯ อบต. วังประจันเพื่อประกาศใช้ทั้งตำบลต่อไป

-  เกิดการแบ่งบทบาทหน้าที่แกนนำ ดังนี้

  1. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน มีหน้าที่ ติดตามกลุ่มวัยรุ่น อายุ 12-19 ปี เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต

    1.1 ร่วมกิจกรรมรณรงค์สร้างกระแสและความตระหนัก ในชุมชน

    1.2 ร่วมประชุมวางแผนการปฏิบัติงาน กับ คณะทำงาน ในโครงการตามแผน

    1.3 ประสานงานทีมภาคีเครือข่ายทั้งตำบล ให้คำปรึกษาหากพบปัญหาหน้างาน เนื่องจาก ทำงานแบบภาคีเครือข่าย
  2. อบต. ม 1 มีหน้าที่ ร่วมกิจกรรมรณรงค์และสนับสนุนทุกกิจกรรมในโครงการรวมถึงประสานงานกับอบต. ตำบลวังประจัน

  3. อสม. เฝ้าติดตาม กลุ่มเป้าหมาย 12-19 ปี เข้ารับสมัครสมาชิก ชมรม Stop teen mom ในเขตพื้นที่ของตัวเอง
    3.1 อสม. เฝ้าติดตามพฤติกรรมเสี่ยง และ ส่งเสริมการสร้างทักษะชีวิต ในการป้องกันตนเอง ทักษะการคิด

      ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสฎและการมีความมั่นใจในตัวเอง เพื่อ ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
    3.2  มีหน้าที่ สื่อสาร ช่องทางในการเข้ารับบริการ และ ให้คำปรึกษากับกลุ่มวัยรุ่น อายุ 12-19 ปี ในเขตพื้นที่ตนเอง

    3.3  ส่งต่อหญิงตั้งครรภ์วัยใส ให้ กับ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข รพ.สต วังประจัน เพื่อให้ได้รับการดูแล และ คัดกรอง ความเสี่ยงต่อไป

  4.  ผู้นำศาสนา มี หน้าที อบรมทักษะ การนำคำสอน ทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวันอย่างเคร่งครัด

      โดยยึดหลักธรรมนุญแห่งชีวิต เน้นย้ำถึงการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

    4.1  รณรงค์สร้างความตระหนักในครอบครัว ผู้ปกครอง เน้นย้ำเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ ในวัยเรียน
      โดยยึดหลัก คำสอน อย่างเคร่งครัด
    4.2  สื่อสารทักษะชีวิตการป้องกันตนเอง ในชั่วโมงการเรียนศาสนา โรงเรียนตาฏีกา และ ชั่วโมงการเรียนสาสนาของผู้ปกครอง

    4.3  ส่งต่อข้อมูล คู่แต่งงานวัยรุ่น อายุ 12-19 ปี ให้กับเจ้าหน้าที่ รพ.สต. วังประจัน เพื่อเข้ารับการวางแผนครอบครัว
      และวางแผนการตั้งครรภ์คุณภาพได้อย่างเหมาะสม ต่อไป

  5.  แกนนำกลุ่มสตรีมีหน้าที่ ส่งเสริมและสร้างความตระหนักเรื่องป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยมีการสื่อสารเรื่องทักษะชีวิต
      ในกลุ่มแม่บ้านและสตรี ช่วยดูแลป้องกันในวัยเรียนและช่วยป้องกันเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น อายุ 12-19 ปี

  5.1 ส่งต่อหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น เพื่อรับฝากครรภ์คุณภาพให้กับเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข รพ.สต. วังประจัน

  6.  ตัวแทนจากองค์กรอิสระ ร่วมขับเคลื่อนร่วมขับเคลื่อนตามแผนงานกิจกรรมทุกกิจกรรม ร่วมประชุมและให้ความร่วมมือ
      นำเสนอแนวคิด และ วิธีการในการออกแบบ กฎ กติกาชุมชน
  -  เกิดแผนการจัดกิจกรรมรณรงค์ การสร้างกระแสในชุมชน และ สร้างความตระหนักในการป้องกันแก้ปัญหาวัยรุ่น มีแผน การดำเนินงานดังนี้

    25/2/2566 รณรงค์สร้างกระแส และ สร้างความตระหนักในการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ณ.โรงเรียนตาฎีกามัสยิดบ้านทุ่งมะปรัง

    2 /5/2566 ประชุม ครั้งที่ 2/4 วางแผนดำเนินกิจกรรม เข้าค่ายเพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิตค้นหาครอบครัวและเยาวชนต้นแบบ

  -  ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม :  มีแผนการดำเนินงานโครงการ และ มีทีมภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมครั้งที่ 1 เพื่อ ชี้แจง คืนข้อมูลสภาพปัญหา ทำความเข้าใจโครงการ แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนดำเนินงานร่วมกัน เพื่อจัดตั้งชมรม ค้นหากลุ่มเป้าหมายและรับสมัครสมาชิกชมรม

 

30 0

6. รณรงค์และสร้างกระแส ในโรงเรียนตาดีกา มัสยิดบ้านทุ่งมะปรัง

วันที่ 25 มีนาคม 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

รณรงค์และสร้างกระแส ในโรงเรียนตาดีกา มัสยิดบ้านทุ่งมะปรัง

  • ผลที่เกิดขึ้นจริง      :      นักเรียนตาฎิกาเข้าร่วมกิจกรรม ทุกระดับชั้น จำนวน 32 คน อายุไม่ ครบ 12 ปี
                                      ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายแต่มีความสนใจอยากเข้าร่วมกิจกรรม อสม. ผู้ปกครองที่สนใจเข้าร่วมด้วย

  • ผลผลิต ( Output ) :    แกนนำร่วมรณรงค์ สร้างกระแส จำนวน 30 คน

  • ผลลัพธ์ ( Outcome) :  มีวัยรุ่น อายุ 12-19 เข้ารับฟังกิจกรรม ร่วมรณรงค์ จำนวน 63 คน โดยมีผู้ปกครองบางส่วน

                                      ให้ความสำคัญ สนใจ สอบถาม ถึงการเข้าข่ายเพื่อฝึกทักษะชีวิต

  • ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม : ได้รับความสนใจ และ สมัรคเป็น สมาชิกชมรม stop teen mon จำนวน 8 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รณรงค์และสร้างกระแส ในโรงเรียนตาดีกา มัสยิดบ้านทุ่งมะปรัง

 

30 0

7. ค่าเดินทาง กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 27 เมษายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าเดินทาง กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าเดินทาง กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

3 0

8. ประชุมครั้งที่ 2/4

วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กำหนดบทบาทตามแผนการดำเนินงานกิจกรรมรณรงค์และเข้าค่ายเพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิตสมาชิก
ชมรม Stop Teen mom ค้นหาครอบครัวเยาวชนต้นแบบ

ผลผลิต ( Output ) : แกนนำจำนวน 30 คน ได้เข้าร่วมประชุมวางแผนกำหนดหน้าทีรับผิดชอบ ในกิจกรรมค่าย

ผลลัพธ์ ( Outcome ) : แกนนำหลัก ได้ร่วมวางแผนจัดกิจกรรม ค่าย โดย แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

        1. กองอำนวยการประสานงานและสนับสนุนกิจกรรมค่ายพัฒนาศักยภาพและทักษะชีวิต ณ.เลบาราโฮมสเตย์ รับผิดชอบโดยกำนันตำบลวังประจัน

        2. ฝ่ายอาคารสถานที่ ผู้รับผิดชอบ ประธานอสม. ม1 กลุ่มสตรี

        3. ฝ่ายรับ-ส่งเด็ก ไป-กลับ ให้ปลอดภัย ผู้รับผิดชอบผู้ใหญ่บ้าน ม.1 ม.3 ม.4

        4. ฝ่ายอาหาร อสม. ม.1 ผู้รับผิดหลัก นาง ซีตีฝาตีม๊ะ โต๊ะเร๊ะ

        5. ฝ่ายวิชาการ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.วังประจัน
        6. ฝ่ายสันทนาการ ครูอนามัยโรงเรียนทุ่งมะปรัง ครูกศนตำบลวังประจัน

        7. ฝ่ายเวรยามดูแลความเรียบร้อยตลอดกิจกรรมค่าย อสม.ม2 ม3 ม4 และผู้ปกครองที่อาสาเข้าร่วมกิจกรรม

        8. ฝ่ายการเงินและประชาสัมพันธ์ นาย อิสมาแอน อุสนุน เจ้าหน้าที่รพ.สตวังประจัน

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม : มีแผนนการปฏิบัติงานพร้อมทีมwork

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กำหนดบทบาทตามแผนการดำเนินงาน กิจกรรมรณรงค์และเข้าค่ายเพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิตสมาชิกชมรม Stop Teen mom ค้นหาครอบครัวเยาวชนต้นแบบ

 

30 0

9. รณรงค์สร้างกระแสและความตระหนัก ในกศน.ตำบลวังประจัน

วันที่ 18 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

รณรงค์สร้างกระแสและความตระหนัก ในกศน.ตำบลวังประจัน
- ผลที่เกิดขึ้นจริง :      มีแกนนำหลัก ตัวแทน จากเครือข่าย เข้าร่วมในการรณรงค์ ผู้ใหญ่บ้าน ม.1 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ม.1 ผอ. รพ.สต. วังประจัน

                              อสม. ม.1 ,ม2 , ม3 ครูกศน. ตำบลวังประจัน กลุ่มทำขนมพื้นบ้าน ม.3 และ นักเรียน กศน.ตำบลวังปจัน
                              โดยได้รับความสนใจและได้รับความร่วมมือในการเข้ารับสมัครสมาชิกชมรม Stop tee mom รวมถึงผู้ปกครองอยากให้บุตรหลาน
                              อายุ 12-19 เข้าร่วมกิจกรรมค่ายพัฒนา ทักษะชีวิต ตามที่ แกนนำ ได้ร่วม รณรงค์ และ ให้ความรู้ เบื้องต้น
- ผลผลิต ( Output ) :      มีแกนนำเข้าร่วมรณรงค์ จำนวน 30 คน ได้รับสมาชิกแกนนำเพิ่มจาก กศน.ตำบลวังประจัน จำนวน 10 คน

  • ผลลัพธ์ ( OutCome ) :        เกิดกระแสในการส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โดยกลุ่มนักเรียนกศน. ผู้ปกครอง

                                        กลุ่มสตรีใน หมู่ 3 และ หมู่ 4 เนื่องจาก นักเรียนส่วนใหญ่อาศัยในพื้นที่ ม.3 และ ม.4 ตำบลวังประจัน

  • ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม :    จากการรณรงค์ เกิดกระแสการส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยมีนักเรียนกศน.ตำบลวังประจัน
                                                สมัครสมาชิกชมรม Stop teen mom จำนวน 10 คน เพื่อเป็นแกนนำต่อไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รณรงค์สร้างกระแสและความตระหนัก ในกศน.ตำบลวังประจัน

 

30 0

10. รณรงค์และสร้างกระแส ในชุมชน บ้านทุ่งมะปรัง

วันที่ 20 พฤษภาคม 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

รณรงค์และสร้างกระแส ในชุมชน บ้านทุ่งมะปรัง
ผลที่เกิดขึ้นจริง :            มีแกนนำหลักเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ ตามที่ได้ตกลงกันไว้ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 1 อบต. ม1 ผู้นำศสานา ม.1 อสม.1
                                  สนใจเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ด้วยความเต็มใจ และ ชอบที่มีกิจกรรมแบบนี้ มีประชาชนและผู้ปกครองอยากให้บุตรหลาน
                                  เข้าร่วมกิจกรรมค่ายพัฒนาศักยภาพ  ผู้เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์ทั้งหมด จำนวน 61 คน

ผลผลิต ( Output ) :      มีแกนนำเข้าร่วม รณรงค์ จำนวน 30 คน มีวัยรุ่น ให้ความสนใจ และ ร่วมกิจกรรม จำนวน 21 คน

ผลลัพธ์ ( Outcome ) :    เกิดกระแส การส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยมีผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการนำบุตรหลานเข้าร่วม
                                  สมัครเข้าค่าย เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต และเข้าร่วม สมัคร สมาชิก ชมรม STOP TEEN MOM จำนวน 10 คน
ผลสรุปที่สำคํญของกิจกรรมนี้ : ได้รับความสนใจจากผู้ปกครองในชุมชนรวมถึงประชาชนทั่วไปในพื้นที่เป้าหมายได้รับสมัครชิกชมรมเพิ่มจำนวน 10 คน
                                          ซึ่งเป็นแกนนำวัยรุ่น ที่ไปเรียนหนังสือนอกพื้นทีทำให้เขาสามารถเข้าถึงกิจกรรมในชุมชนได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รณรงค์และสร้างกระแส ในชุมชน บ้านทุ่งมะปรัง

 

30 0

11. ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในโครงการครั้งที่ 1

วันที่ 22 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในโครงการครั้งที่ 1

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในโครงการครั้งที่ 1

 

0 0

12. ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในโครงการ

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในโครงการ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ซื้อวัสดุ อุปกรณ์ในโครงการ

 

0 0

13. รณรงค์สร้างกระแสและความตระหนัก ในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

รณรงค์สร้างกระแสและความตระหนัก ในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง
- ผลที่เกิดขึ้นจริง :  มีแกนนำ จำนวน จำนวน 30 คน ซึ่งเป็นแกนนำหลัก ในการ ร่วมรณรงค์ อสม. ม. 1 ม.2 ครูอนามัย
              โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง ผอ.โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังรวมถึงคุณครูทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์
              และให้ความร่วมมือมีนักเรียนชั้น ป.4 และ ป.5 ที่อายุ ไม่ถึงเกณฑ์ 12 ปี เข้าร่วม
              รับฟัง และ มีความสนใจอยากเข้าร่วม กิจกรรมค่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิต

  • ผลผลิต ( Output ) : มีแกนนำหลักร่วมรณรงค์ จำนวน 30 คน มีนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังสมัคร
                  เข้าร่วมเป็นสมาชิก ชมรม Stop teen mom จำนวน 40 คน

  • ผลลัพธ์ (outcome): เกิดกระแสการส่งเสริมทักษะการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น โรงเรียนบ้านทุ่งมะปรังต้องการเข้าร่วม
                  ค่าย มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมรณรงค์เกินเป้าหมาย จำนวน 82 คน และ อสม.ต้องการนำบุตรหลาน
                  เข้าร่วมค่ายฝึกทักษะชีวิตป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

  • ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม : จากการรณรงค์ทำให้เกิดกระแสในโรงเรียนและผู้ปกครอง มีแกนนำวัยรุ่นในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง
                        สนใจกิจกรรมค่ายพัฒนาทักษะชีวิตซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในพื้นที่

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รณรงค์สร้างกระแสและความตระหนัก ในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง

 

30 0

14. กิจกรรมค่ายเพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิตให้กับสมาชิกชมรม STOP TEEN MOM

วันที่ 10 มิถุนายน 2566 เวลา 10:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กิจกรรมค่ายเพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิตให้กับสมาชิกชมรม STOP TEEN MOM

  • ผลที่เกิดขึ้นจริง : มีแกนนำหลักเข้าร่วม 30 คน ตามที่ได้ตกลงกันไว้ มีผู้ปกครองสนใจเข้าร่วมจำนวน 10 คน โดยยินดี
                สนับสนุนค่าใชจ่ายด้วยตนเองรวมถึงอสม.บางส่วนได้เป็นเป้าหมายหลัก จำนวน 5 คน มีนักเรียนที่เป็นเป้าหมายรอง
                จำนวน 50 คนซึ่งเป็นแกนนำในชมรม Stop Teen mom ต่อไปและมีนักเรียนที่สนใจและยินดี
                เข้าร่วมกิกรรมโดย ใช้ค่าจ่ายส่วนตัว จำนวน 4 คน รวมสมาชิก ที่เข้าค่ายทั้งหมด 99 คน

-  ผลผลิต ( Output ) :  เกิดแกนนำ ได้ตามเป้าหมาย จำ นวน 80 คน โดย มีเป้าหมายหลักจำนวน 30 คนและมีเป้าหมายรอง
                จำนวน 50 คนที่เข้าร่วมกิจกรรมค่ายพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิต เกี่ยวกับ
                การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

-  ผลลัพธ์ ( Outcome ) : เกิดแกนนำในการช่วยเหลือ เพื่อนวัยรุ่น ที่มีปํญหาเรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อม จำนวน 50 คน
                  เป็นผู้ใหญ่จำนวน 30 คนที่คอยให้ความช่วยเหลือ ในการทำกิจกรรมในชุมชนแกนนำหลักและ

                  แกนนำรองในชุมชนได้รับการพัฒนาทักษะและอบรม จานวน 3 หลักสูตร ดังนี้

    1. หลักสูตรความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
      บทบาทคุณค่าความเป็น ชาย-หญิง

    2. หลักสูตรทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิดการวิเคราะห์ทักษะการต่อรองทักษะในการปฏิเสธพฤติกรรมเสี่ยง
      การมีความมั่นใจป้องกันการท้องไม่พร้อม

    3. การนำคำสอนทางศาสนามาใช้ในชีวิตประจำวัน โดยยึดหลักตามธรรมนูญชีวิต

-  ผลการทำแบบประเมินวัดความรู้ ก่อนอบรม ( Pretest ) ผลการวัดพบว่ามีความรู้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้

      กลุ่มที่ 1 . คะแนน อยู่ในช่วง 7-10 คะแนน 12 คน ร้อยละ 24

      กลุ่มที่ 2. คะแนน อยู่ในช่วง 4-6 คะแนน 20 คน ร้อยละ 40

      กลุ่มที่ 3. คะแนน อยู่ในช่วง 0-5 คะแนน 18 คน ร้อยละ 36

-  ผลการทำแบบประเมินวัดความรู้ หลังอบรม ( Post test ) ผลการวัดพบว่ามีความรู้แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
      กลุ่มที่ 1.  คะแนน อยู่ในช่วง 7-10 คะแนน 36 คน ร้อยละ 72

      กลุมที่ 2.  คะแนน อยู่ในช่วง 4-6 คะแนน 12 คน ร้อยละ 25

      กลุ่มที่ 3.  คะแนน อยู่ในช่วง 0-5 คะแนน 2 คน ร้อยละ 4

-  สรุปผล :  หลังจากการนำ แกนนำวัยรุ่น จำนวน 50 คน เข้ารับการพัฒนาศักยภาพ และ ฝึกอบรมทักษะชีวิต
            ผ่านเกณฑ์ประเมินร้อยละ 96 ซึงเป็นที่น่าพอใจ สามารถ เป็นแกนนำและ

            และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ฝึกฝนตนเองพร้อมทั้งสามารถสื่อสารและช่วยเหลือให้คำแนะนำเพื่อนวัยรุ่นในชุมชนต่อไป

-  ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม :  แกนนำมีความรู้ความเข้าใจและนำสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งต่อยอดด้วยการสานต่อในชุมชน
                      จากรุ่นสู่รุ่นเพื่อความยั่งยืน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมค่ายเพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิตให้กับสมาชิกชมรม STOP TEEN MOM

 

83 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 22 14                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 69,448.00                  
คุณภาพกิจกรรม 56                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. รณรงค์สร้างกระแสและความตระหนัก ในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง ( 1 มิ.ย. 2566 )
  2. จัดกิจกรรมค่ายเพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิตให้กับสมาชิกชมรม STOP TEEN MOM ( 7 มิ.ย. 2566 - 8 มิ.ย. 2566 )
  3. กิจกรรมค่ายเพื่ออบรมพัฒนาศักยภาพและเพิ่มทักษะชีวิตให้กับสมาชิกชมรม STOP TEEN MOM ( 10 มิ.ย. 2566 - 11 มิ.ย. 2566 )
  4. ประชุมครั้งที่ 3/4 ( 20 ก.ค. 2566 )
  5. ชมรม STOP TEEN MOM ดำเนินกิจกรรมในชุมชน ( 6 ส.ค. 2566 )
  6. ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการใช้เงินให้กับโครงการย่อย ( 18 ส.ค. 2566 )
  7. ชมรม STOP TEEN MOM ติดตามและสร้างแรงจูงใจแก่สมาชิกชมรม STOP TEEN MOM ถึง พฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน ( 19 ส.ค. 2566 )
  8. ประชุมครั้งที่ 4/4 ( 8 ก.ย. 2566 )
  9. ประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน ( 15 ก.ย. 2566 )
  10. ประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน ( 15 ก.ย. 2566 )
  11. ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรมกับ สสส ( 26 ก.ย. 2566 )
  12. ค่าจัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ ( 29 ก.ย. 2566 )

(................................)
นายนันทวัฒน์ เต๊ะสมัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ