task_alt

17. วัยรุ่นวัยใส ห่างไกลการตั้งครรภ์ในวัยเรียน บ้านทุ่งมะปรัง

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ 17. วัยรุ่นวัยใส ห่างไกลการตั้งครรภ์ในวัยเรียน บ้านทุ่งมะปรัง

ชุมชน หมู่ 1 ตำบลวังประจัน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 65-10154-018 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน มิถุนายน 2566 ถึงเดือน กันยายน 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมครั้งที่ 3/4

วันที่ 20 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมครั้งที่ 3/4 แกนนำให้ความร่วมมือ และ เข้าร่วมประชุม เสนอ ความคิดเห็นเพื่อขับเคลื่อน ชมรม stop teen mom ให้เกิดความยั่งยืนในชุมชน
  ผลผลิต : มีแกนนำหลัก เข้าร่วมประชุม จำนวน 30 คน

  ผลลัพธ์ : เกิดทีมแกนนำที่เข้มแข็ง ใน ชุมชน เพื่อ คอยสนับสนุนกิจกรรม ชมรม Stop teen mom
  ผลสรุป : มี แกนนำที่เข้มแข็งในชุมชน จำนวน 30 คน

              มี ชมรม stop teen momที่ ขับเคลื่อนอย่างยั่งยืน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมครั้งที่ 3/4
ภาคีเครือข่าย แกนนำ หลัก ได้สรุป และ วางแผน เพื่อ ขับเคลื่อน กิจกรรมของ ชมรม Stoop teen mom บ้านทุ่งมะปรัง โดย มีการจัดตั้งชมรม Stop teen mom ในโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง มี ครูอนามัยโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง และ มีเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข รพ.สต. วังประจัน เป็นที่ปรึกษา
โดย กำหนด บทบาทของสมาชิกในชมรม stop teen mom ในการ ร่วมขับเคลื่อน และ รณรงค์สร้างความตระหนัก ในพื้นที่ตำบล วังประจัน ต่อไป
  1. สมาชิกชมรม Stop teen mom มีจำนวน 50 คน
  2. สมาชิก ชมรม stop teen mom ได้รับ ความรู้ จากค่ายพัฒนาศักยภาพและทักษะชีวิต โดย ผ่านการอบรม 3 หลักสูตร ดังนี้
    2.1 หลักสูตรความรู้เกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อท่างเพศสัมพันธ์ ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร บทบาทและคุณค่าของ
      ความเป็นชาย-หญิง
    2.2 หลักศุตรทักษะชีวิตในการป้องกันตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะในการปฏิเสธพฤติกรรมเสี่ยง การมี
      ความมั่นใจในตนเอง เพื่อป้องกัน การท้องไม่พร้อม
    2.3 หลักสูตรการนำคำสอนทางศาสนา มาใช้ในชีวิตประจำวัน โดย ยึดหลักธรรมฯุญชีวิต
  3. แกนนำวัยรุ่น มีหน้าที่ ติดตาม เยี่ยมบ้าน เพื่อนวัยรุ่น ที่ ยังไม่สมัครเป็น สมาชิก ชมรม stop teen mom
  4. แกนนำวัยรุ่น มีหน้าที่ ติดตาม ทำแบบสอบถาม กับ วัยรุ่นในพื้นที่ เพื่อเก็บข้อมูล เรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
  5. แกนนำวัยรุ่น มีหน้าที่ ทำตัวเป็นแบบอย่าง และ ให้คำปรึกษา และ ชี้ช่องทางในการแก้ปัญหา
  6. ชมรม stop teen mom คัดสรร เยาวชนต้นแบบ จำนวน 10 คน

    กำหนด บทบาท หลัก ของภาคีเครือข่ายแกนนำ จำนวน 30 คน ดังนี้
  1. ช่วยขับเคลื่อน โดย การส่งเสริม กิจกรรม ของ ชมรม stop teen mom
  2. ผลักดันการประกาศใช้ กฎ กติกาชุมชน ให้เป็นแนวทางปฎิบัติร่วมกันในพื้นที่ ตำบลวังประจัน

  3. คัดเลือกครอบครัว ต้นแบบ จำนวน 5 ครอบครัว
  4. ประสานงานทีม ภาคีเครือข่ายให้กับเยาวชนที่ประสบปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยเรียน และ กลุ่มเสี่ยงในการตั้งครรภ์ในวัยเรียน

 

30 0

2. ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการใช้เงินให้กับโครงการย่อย

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการใช้เงินให้กับโครงการย่อย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรมชี้แจงรายละเอียดการจัดทำเอกสารการใช้เงินให้กับโครงการย่อย

 

2 0

3. ชมรม STOP TEEN MOM ติดตามและสร้างแรงจูงใจแก่สมาชิกชมรม STOP TEEN MOM ถึง พฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน

วันที่ 19 สิงหาคม 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ชมรม STOP TEEN MOM ติดตามและสร้างแรงจูงใจแก่สมาชิกชมรม STOP TEEN MOM ถึง พฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน

ผลที่เกิดขึ้นจริง : สมาชิกชมรม stop teen mom ให้ความร่วมมือ และสนใจ การทำกิจกรรมเป็นอย่างดี โดย

                    ทำแบบประเมินความรู้ ผ่านเกณฑ์ประเมิน ร้อยละ 100

                    ทุกคนให้ ความสนใจ การทำกิจกรรม Work shop และ นำเสนอ ด้วยความมั่นใจ และ ทุกคนมีความมั่นใจ
                    ในการเป็นแกนนำพื้นที่ ม.1 บ้านทุ่งมะปรัง และ พื้นที่ ตำบล วังประจันต่อไป

ผลผลิต :      แกนนำวัยรุ่น จำนวน 50 คน มีความรู้ ความสามารถ ความมั่นใจ ในการนำความรู้เรื่องป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น

                    บอกเล่าใน ชุมชน และ เพื่อนวัยรุ่นต่อไป
ผลลัพธ์ :      แกนนำมีความรู้และทักษะชีวิต เรื่อง การป้องกันแม่วัยใส

ผลสรุปที่สำคัญของกิกรรม :  ชมรม stop teen mom มีความเข้มแข็ง มี ภาคีเครือข่ายคอยสนับสนุนกิจกรรม ในชุมชน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ชมรม STOP TEEN MOM ติดตามและสร้างแรงจูงใจแก่สมาชิกชมรม STOP TEEN MOM ถึง พฤติกรรมการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน

 

30 0

4. ประชุมครั้งที่ 4/4

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 13:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมครั้งที่ 4/4
ผลที่เกิดขึ้นจริง :    ประชุมสรุปโครงการ แกนนำ จำนวน 30 คน ซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการขับเคลื่อนกิจกรรม


                    โดย มีตัวแทนจากภาคีเครือข่ายเข้าร่วม ผู้เข้าร่วมส่วนใหญ่เป็น ตัวแทนแกนนำ


ผลผลิต :        มีแกนนำหลัก และ ตัวแทน เข้าร่วมประชุม 30 คน ( ในกรณีที่แกนนำตัวจริงมาไม่ได้มีตัวแทนเข้าประชุมแทน)


ผลลัพธ์ :        แกนนำ และ ตัวแทนให้ความสนใจที่จะเป็นแกนนำเพื่อช่วยเหลือวัยรุ่นในเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน


                    บ้านทุ่งมะปรัง

ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม : ชุมชน มีความเข้มแข็งในเรื่อง การดูแลและป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน โดย


                    อัตราการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ เป้าหมาย อัตราไม่เกิน 23 ต่อแสน ประชาการ


                    หลังจากได้จัดทำโครงการ ปรากฎว่า อัตราการการตั้งครรภ์ เป็น 0

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมครั้งที่ 4/4

 

30 0

5. ประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน

วันที่ 15 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน ผลผลิต : แกนนำภาคีเครือข่าย นำโดย กำนันตำบลวังประจัน ผู้ใหญ่บ้าน ม. 1 ม. 2 ม. 3 อบต. ม.1 อีหม่าม มัสยิด ม.1 ม.2 ม.3 แกนนำสตรี ม.1 ม.2 ม.3 ครูอนามัยโรงเรียนบ้านทุ่งมะปรัง ครู กศน. ตำบลวังประจัน อสม.ตำบลวังประจัน ผอ. รพ.สต.ตำบลบ้านวังประจัน รวมถึง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต. วังประจัน ประธานชมรม Stop teen mom และ เลขา เข้าร่วม
ทหารผู้รับผิดชอบเขตปกครองพิเศษตำบลวังประจัน ร่วมประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน จำนวน 30 คน
ผลลัพธ์ : 1. เกิด กฎ กติกา ชุมชน นำไปสู่การปฏิบัติเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียนบ้านทุ่งมะปรัง และ ตำบลวังประจัน ทุกหมู่บ้าน
  2. มีแกนนำเยาวชน จาก ชมรม Stop teen mom ได้ ร่วมนำเสนอ และ ออกแบบ การส่งต่อข้อมูลให้กับวัยรุ่น ในพื้นที ตำบลวังประจัน
  จำนวน 50 คน   3. มีแกนนำหลัก จากภาคีเครือข่าย จำนวน 30 คน คอยส่งเสริม สนับสนุน แกนนำเยาวชนในการทำกิจกรรม
  4. มีช่องทางในการประสานงานกับ กลุ่ม วัยรุ่น ในพื้นที่โดย มี แกนนำ ชมรม Stop teen mom เป็นผู้เชื่อมโยง
  กับ แกนนำหลักที่เป็นภาคีเครือข่าย เพื่อเฝ้าระวัง วัยรุ่นกลุ่มเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์
  5. มีช่องทางในการส่งต่อ วัยรุ่นตั้งครรภ์ให้ กับ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อทำการรับฝากครรภ์
  หรือ แก้ปัญหาให้ทันท่วงที และ จัดการได้อย่างเหมาะสม เป็นรายๆ ไป
  โดย มี บทบาทของ ภาคีเครือข่าย เข้ามาเกี่ยวข้อง ตามลักษณะ ของปัญหา เช่น อีหม่าม มีหน้าทีสืบค้นข้อมูล ก่อนการนิกะ
  6. มีทีม Work ในการจัดการ ปํญหา ของวัยรุ่นในพื้นที โดย ใช้ กฎ กติกา ชุมชน ผลลัพธ์ : ทีมภาคีเครือข่าย มี กฏ กติกา ชุมชน
ผลสรุปที่สำคัญของกิกรรม : ขับเคลื่อน การประกาศใช้ กฎ กติกาชุมชน 5 ข้อ ดังนี
  1. ตรวจสอบการตั้งครรภ์ สืบค้นข้อมูลคู่สมรส ก่อน นิกะ

  2. ส่งเสริมให้เด็กทุกคน เรียนตาดีกา
  3. ผู้ปกครองต้องได้เรียนรุ้ เรื่อง ศาสนาเป็นประจำ เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติและเป็นแบบอย่างให้กับุตร

  4. แนะนำการป้องกันการตั้งครรภ์ โดยใช้ถุงยางอนามัย

  5. อบรมผู้ปกครองที่มีบุตรหลานอยู่ในกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ประชุมสรุปโครงการและถอดบทเรียน

 

30 0

6. ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรมกับ สสส

วันที่ 26 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรมกับ สสส

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าเดินทางไปร่วมกิจกรรมกับ สสส

 

2 0

7. ค่าจัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ค่าจัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ค่าจัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 22 21                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 80,444.00                    
คุณภาพกิจกรรม 84                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายนันทวัฒน์ เต๊ะสมัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ