directions_run

สร้างทักษะชีวิตและสร้างแกนนำเยาวชนเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในโรงเรียนละงูพิทยาคม อำเภอละงู จังหวัดสตูล

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ประชุมคณะทำงาน 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมร่วมกับแผนร่วมทุน 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

ประชุม ชี้แจงโครงการ จัดตั้ง คณะทำงาน ติดตามการทำงาน จำนวน 3 ครั้ง 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

อบรมสร้างทักษะแกนนำเยาวชน 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมโดยแกนนำ จัดกิจกรรมทุก 1 เดือน จำนวน 3 ครั้ง 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

สำรวจข้อมูลสถานการณ์ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน 5 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

ปฐมนิเทศโครงการ 29 ม.ค. 2566 29 ม.ค. 2566

 

กิจกรรมปฐมนิเทศโครงการร่วมกับแผนการลงทุน

 

ผลผลิต ได้เข้าร่วมปฐมนิเทศโครงการจำนวน 2 ท่าน
ผลลัพธ์ ได้ทราบขั้นตอนการลงข้อมูลในระบบ สามารถนำไปใช้ได้ถูกต้อง การลงบัญชี การเงิน การตรวจสอบความถี่ถ้วน และวิธีการทำงาน

 

จัดทำป้ายโครงการ บันไดผลลัพธ์ ป้ายปลอดบุหรี่ สำหรับโครงการ 30 ม.ค. 2566 30 ม.ค. 2566

 

จัดทำป้ายโครงการ บันไดผลลัพธ์ ป้ายปลอดบุหรี่ เพื่อการจัดกิจกรรมต่างๆในโครงการ

 

ได้รับป้ายโครงการ บันไดผลลัพธ์ ป้ายปลอดบุหรี่ เพื่อการจัดกิจกรรมต่างๆในโครงการ

 

ถอนเงินฝากบัญชี 31 มี.ค. 2566 31 มี.ค. 2566

 

ถอนเงินฝากบัญชี

 

ได้รับเงินฝากบัญชี

 

จัดทำป้าย จัดทำตรายาง สำหรับโครงการ 3 เม.ย. 2566 3 เม.ย. 2566

 

จัดตรายาง สำหรับใช้ในโครงการ

 

ได้รับป้ายโครงการ และตรายาง อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับประกอบโครงการ จำนวน 2 ชิ้น

 

ติดตาม การทำงานของแกนนำ 19 ก.ย. 2566

 

 

 

 

 

ค่าจัดทำรายงานและบันทึกรายงานความก้าวหน้าในระบบออนไลน์ 27 ก.ย. 2566 27 ก.ย. 2566

 

จัดทำรายงานความก้าวหน้าในแต่ละกิจกรรม บันทึกลงในระบบ ชี้แจงรายละเอียดต่างๆของแต่ละกิจกรรม

 

ผู้บันทึกรายงาน ได้ทำการบันทึกรายงานแต่ละกิจกรรมลงในระบบออนไลน์ อย่างครบถ้วนทุกกิจกรรม + จัดทำรายงานฉบับสมบูรณ์ 1 เล่ม

 

ถอนเงินคืนดอกเบี้ย ให้ อบจ. 10 ต.ค. 2566 10 ต.ค. 2566

 

ถอนดอกเบี้ย ธนาคารกรุงไทย

 

ได้รับดอกเบี้ยเพื่อคืนเงิน อบจ.

 

ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 1/5 5 ม.ค. 2566 5 ม.ค. 2566

 

ประชุมคณะทำงานโครงการ

 

  • ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดทำโครงการ
  • เตรียมพร้อมวางแผนการจัดโครงการ การดำเนินงานที่เกี่ยวข้อง จัดตั้งทีม คณะทำงานโครงการ

 

เดินทางมาลงนามในสัญญาโครงการ 12 ม.ค. 2566 12 ม.ค. 2566

 

-ลงนามในสัญญาโครงการ
-รับฟังรายละเอียดโครงการ -การดำเนินงานตลอดโครงการ

 

ผลลัพธ์
-ได้รับการลงนามในสัญญาโครงการ รับฟังรายละเอียดโครงการ การจัดสรรระยะเวลาในการดำเนินงานตลอดของโครงการ

 

ประชุม ชี้แจงโครงการ ครั้งที่ 1/3 31 ม.ค. 2566 31 ม.ค. 2566

 

  • กำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงาน
  • เกิดภาคีเครือข่าย เข้าร่วมรับฟังเวทีชี้แจงโครงการร่วมกัน
  • ติดตามการดำเนินงาน

 

ผลผลิต - มีคณะทำงานโครงการ จำนวน 10 คน - คณะทำงานมีบทบาทหน้าที่ในโครงการชัดเจน ประกอบด้วย ทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และคุณครูพี่เลี้ยง
ผลลัพธ์ -มีคณะทำงานโครงการ เกิดภาคีเครือข่าย การร่วมกันทำงาน มีหน้าที่รับผิดชอบทุกคน ตามความเหมาะสม
มีความสะดวกในการประสานงานติดต่อกัน

 

ประชุมชี้แจงโครงการ ครั้งที่ 2/3 10 ก.พ. 2566 10 ก.พ. 2566

 

  • กำหนดบทบาทหน้าที่ในการทำงาน
  • เกิดภาคีเครือข่าย เข้าร่วมรับฟังเวทีชี้แจงโครงการร่วมกัน
  • ติดตามการดำเนินงาน

 

ผลลัพธ์ - ผู้รับผิดชอบโครงการ รับทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง ผลผลิต - ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 10 คน รับทราบบทบาทหน้าที่ของตนเอง ตามความเหมาะสม การติดตามการดำเนินงาน คุณครูที่ โรงเรียน การจัดหากลุ่มแกนนำเยาวชนของโครงการ ในการเข้าร่วมกิจกรรม การอบรม และการเดินรณรงค์ในแต่ละครั้ง

 

อบรมสร้างทักษะแกนนำเยาวชน ครั้งที่ 1 13 ก.พ. 2566 13 ก.พ. 2566

 

วิทยากรให้ความรู้ ด้านต่าง ๆ
- ความเป็นมาของ โครงการ
- ความรู้เพศวิถี - ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม

 

ผลลัพธ์ /ตัวชี้วัด
1. ร้อยละ 80 ของแกนนำวัยรุ่นในโรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องเพศวิถี 2. แกนนำ มีภาวะผู้นำสามารถทำงานเป็นทีมได้
3. มีความรู้เรื่องความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) และสามารถจัดกิจกรรมแก้ปัญหา พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ให้กับผู้มารับบริการได้ ผลผลิต
แกนนำเยาวชน จำนวน 30 คน และครูพี่เลี้ยง ได้รับความรู้ ความเข้าใจตลอดการอบรม การทำแบบประเมินความรู้เรื่องเพศวิถี การให้ความรู้การเสริมสร้างภาวะผู้นำ การทำงานเป็นทีมได้

 

กิจกรรมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมโดยแกนนำ ครั้งที่ 1 14 ก.พ. 2566 14 ก.พ. 2566

 

  1. การรณรงค์สร้างกระแส “ รักเมื่อพร้อม ” เน้นการสร้างและพัฒนาเด็กรุ่นใหม่ให้มีค่านิยม รักอย่างไรให้ปลอดภัย
  2. การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้กับเยาวชน

 

ผลลัพธ์ / ตัวชี้วัด
1. แกนนำได้รับการติดตาม 80% 2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมิน 90 % -แกนนำเยาวชนจำนวน 30 คน ได้เข้าร่วมการเดินรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ภายในงานมรกตอันดามัน จัดขึ้น ณ เทศบาลตำบลกำแพง โดยเดินรณรงค์ มีป้ายการรณรงค์ แจกถุงยางอนามัยให้แก่ผู้เข้างาน การประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้เรื่องการตั้งครรภ์ไม่พร้อมบนเวทีกลาง ผู้ร่วมงานให้ความสนใจและมีการตอบรับที่ดีตลอดการเดินรณรงค์

 

กิจกรรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อย ครั้งที่ 1 27 เม.ย. 2566 27 เม.ย. 2566

 

  • ประชุมทีม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โครงการย่อย แต่ละโครงการ

 

  • คณะกรรมการย่อย จำนวน 2 คน ได้รับความรู้ รายละเอียดการดำเนินงาน การลงข้อมูลในระบบ รายละเอียดด้านการเงิน
  • การวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหา ต่าง ๆ
  • แบ่งตามกลุ่มย่อย ด้านการเงิน การจัดโครงการ การลงข้อมูลในระบบ อย่างละเอียดและถูกต้อง

 

ประชุมชี้แจงโครงการ ครั้งที่ 3/3 23 พ.ค. 2566 23 พ.ค. 2566

 

ประชุมชี้แจงโครงการ การดำเนินงานคณะทำงาน ติดตามการดำเนินงาน

 

คณะทำงานโครงการ จำนวน 10 คน เข้าร่วมการประชุมการดำเนินงาน เตรียมความพร้อมสำหรับการจัดอบรมแกนนำเยาวชน มอบหมายบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของแต่ละคน เพื่อการจัดการอบรมเป็นไปอย่างราบรื่น โดยประสานกับ นางสาววิญญู หิมมา ผู้จัดการโครงการ

 

อบรมสร้างทักษะแกนนำเยาวชน ครั้งที่ 2 24 พ.ค. 2566 24 พ.ค. 2566

 

  • หลักการให้คำปรึกษาเบื้องต้น
  • การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
  • การจัดกิจกรรมเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิต เรื่อง ทักษะการดำรงชีวิตแห่งศตวรรษที่ 21

 

ผู้เข้าร่วมอบรม แกนนำเยาวชน จำนวน 30 คน ได้รับความรู้ความเข้าเรื่อง
1. ทักษะการให้คำปรึกษา มีทักษะที่สามารถนำไปใช้กับเพื่อน นักเรียนในโรงเรียน - มีการเตรียมความพร้อมจัดตั้งศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น รร.ละงูพิทยาคม ที่มีประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก และสมาชิกทีม มีการมอบหมายหน้าที่การปฏิบัติงาน จัดตารางการทำงานในแต่ละวัน และร่วมกันคิด จัดวางกิจกรรมสำหรับศูนย์ ใช้เวลาว่างระหว่างเรียน มาทำกิจกรรมส่งเสริม รร. กิจกรรมสันทนาการ การประกาศเสียงตามสาย และกิจกรรมอื่นๆ 2. การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ เพื่อการนำไปใช้ในชีวิตจริง การจัดการกับอารมณ์ การทำแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ เพื่อให้แกนนำแต่ละคน ทราบถึงระดับความฉลาดทางอารมณ์ของตนเอง และพัฒนาต่อเนื่องได้
กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจ ให้กับแกนนำเพื่อนำไปใช้กับตนเอง และส่งต่อแนะนำแนวทางให้กับเพื่อนใน รร. ต่อไป

 

สำรวจข้อมูลสถานการณ์ คัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน จัดทำตั้งศูนย์ให้คำปรึกษา “เพื่อนใจวัยรุ่น“ ในโรงเรียน 25 พ.ค. 2566 25 พ.ค. 2566

 

  1. ชี้แจงแนวทางการสำรวจข้อมูลสถานการณ์
  2. ดำเนินการสำรวจข้อมูลสถานการณ์แบบประเมินความรอบรู้เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ โดยสำรวจเด็กนักเรียนทุกชั้นเรียน ม.1 - ม.6 จำนวนทั้งสิ้น 584 คน
  3. วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ของนักเรียน
  4. คืนข้อมูลให้กับโรงเรียน
  5. จัดตั้งศูนย์ให้คำปรึกษา "เพื่อนใจวัยรุ่น" ในโรงเรียน เพื่อรองรับนักเรียนที่มีความเสี่ยงการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์

 

  • แกนนำเยาวชน และครูพี่เลี้ยง จำนวน 35 คน ร่วมกันค้นหา สำรวจข้อมูล นักเรียนที่มีความเสี่ยงตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ วิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ และจัดหาแนวทางการช่วยเหลือ
  • ดำเนินการจัดตั้งศูนย์ "เพื่อนใจวัยรุ่น" โรงเรียนละงูพิทยาคม เพื่อการดำเนินงานการให้บริการ แก่กลุ่มนักเรียนในโรงเรียน ที่มีปัญหา ต้องการที่ปรึกษา หรือมีความเสี่ยงเกี่ยวกับการตั้งครภ์ไม่พึงประสงค์ โดนทีมแกนนำเยาวชนของ รร. ที่ได้รับการอบรมหลักสูตร
  • สมาชิกของศูนย์ประกอบด้วย ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก และสมาชิกทีม มีการมอบหมายหน้าที่การปฏิบัติงาน จัดตารางการทำงานในแต่ละวัน และร่วมกันคิด จัดวางกิจกรรมสำหรับศูนย์ ใช้เวลาว่างระหว่างเรียน มาทำกิจกรรมส่งเสริม รร. กิจกรรมสันทนาการ การประกาศเสียงตามสาย และกิจกรรมอื่นๆ

 

กิจกรรมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมโดยแกนนำ ครั้งที่ 2/3 26 มิ.ย. 2566 26 มิ.ย. 2566

 

  1. การรณรงค์สร้างกระแส “ รักเมื่อพร้อม ” เน้นการสร้างและพัฒนาเด็กรุ่นใหม่ให้มีค่านิยม รักอย่างไรให้ปลอดภัย
  2. การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้กับเยาวชน

 

  • แกนนำเยาวชนจำนวน 30 คน ร่วมรณรงค์ป้องกัน ตั้งครรภ์ไม่พร้อม ให้กับนักเรียนโรงเรียนละงูพิทยาคม จำนวน 500 คน
  • แกนนำได้แสดงความสามารถ การป้องกันตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
  • ครู และนักเรียนโรงเรียนละงูพิทยาคม เข้าร่วมการรณรงค์

 

อบรมสร้างทักษะแกนนำเยาวชน ครั้งที่ 3 11 ก.ค. 2566 11 ก.ค. 2566

 

การจัดกิจกรรมสร้างสุข การบริหารจัดการศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น

 

  • นักเรียนแกนนำ ได้รับการอบรม กิจกรรมสร้างสุข จำนวน 30 คน , ร่วมกับ จนท. สาธารณสุข  มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แสดงบทบาทสมมติ , การบริหารจัดการศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น

 

กิจกรรมการรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมโดยแกนนำ ครั้งที่ 3/3 6 ก.ย. 2566 6 ก.ย. 2566

 

แกนนำเยาวชน รร.ละงูพิทยาคมจำนวน 30 คน และ จนท. สาธารณสุขจำนวน 5 คน เข้าร่วมจัดกิจกรรม รณรงค์ป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ณ รร. บ้านปากบาง ผู้เข้าร่วมจำนวน 100 คน นักเรียน รร. บ้านปากบาง  ให้ความรู้ จัดกิจกรรมต่างๆ การตั้งคำถาม การเล่นเกมต่างๆ

 

นักเรียน รร. บ้านปากบาง จำนวน 100 คน ได้ความรู้ ได้เข้าร่วมกิจกรรม การตอบคำถาม การร่วมสนุก และทักษะการป้องกันตนเอง การตั้งครรภ์ไม่พร้อม

 

ติดตาม การทำงานของแกนนำ ดำเนินกิจกรรมตามแผนการดำเนินงาน 19 ก.ย. 2566 19 ก.ย. 2566

 

สรุปผลการดำเนินงานของแกนนำนักเรียน โดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประกอบด้วยประเด็นดังนี้
  1. ข้อดี ข้อเสีย ของกิจกรรมโครงการ   2. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ   3. อุปสรรคจากการทำงาน   4. สิ่งที่ควรปรับปรุง/สิ่งที่ควรต่อยอด

 

แกนนำเยาวชน จำนวน 30 คน จนท. 5 คน  ร่วมแลกเปลี่ยน การดำเนินงาน การมองเห็น ข้อดี ข้อเสีย
ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงาน และการต่อยอดกิจกรรมให้ขยายต่อในรุ่นต่อไป

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้โครงการย่อยครั้งที่ 2 25 ก.ย. 2566 25 ก.ย. 2566

 

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชี้แจงการดำเนินงาน โครงการ ติดตามการดำเนินงาน

 

  • ผู้รับผิดชอบโครงการ จำนวน 2 คน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ได้ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อพัฒนาการดำเนินงาน