task_alt

บริโภคผักให้เป็นยาในชุมชนหมู่ 4 บ้านตะโละใส ตำลปากน้ำ จังหวัดสตูล

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 2

ชื่อโครงการ บริโภคผักให้เป็นยาในชุมชนหมู่ 4 บ้านตะโละใส ตำลปากน้ำ จังหวัดสตูล

ชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 6510154026 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มกราคม 2566 ถึง 15 พฤศจิกายน 2566

รายงานงวดที่ : 2 จากเดือน มิถุนายน 2566 ถึงเดือน กันยายน 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ถอนเงินเปิดบัญชี

วันที่ 12 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ถอนเงินคืนจำนวน 500 บาท

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

-เดินทางไปถอนเงินเปิดบัญชีที่ธนาคารกรุงไทย

 

2 0

2. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้ เรื่องการบริโภคผักให้เป็นยา

วันที่ 14 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • แกนนำปลูกผัก แกนนำ อสม. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และผู้สนใจ จำนวน 80 คน มีความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของผักแต่ละชนิดที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อาทิ ผักเคล ผักจิงจูฉ่าย บัวบก เสาวรส
    ทำไมต้องทำน้ำผักปั่น
  • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทำน้ำผักได้ รู้สูตรในการทำน้ำผักปั่น รู้สรรพคุณของน้ำผักปั่น
  • ทำให้ผู้ร่วมกิจกรรมรับรู้ถึงปัญหาอุปสรรคของการปลูกผักเคลให้เข้าสภาพของชุมชนนั้นๆ และทำให้สามารถรับมือกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม
  2. จัดทำหนังสือเชิญวิทยากร
  3. จัดเตรียมสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ เอกสารประกอบการประชุม
  4. อบรมให้ความรู้แกนนำปลูกผัก แกนนำ อสม. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และผู้สนใจ จำนวน 80 คน เรื่อง   4.1เรื่องสรรพคุณของผักแต่ละชนิดที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง อาทิ ผักเคล ผักจิงจูฉ่าย บัวบก เสาวรส
      4.2 ทำไมต้องทำน้ำผักปั่น   4.3 ร่วมสาธิตการทำน้ำผักปั่น   4.4 ถอดบทเรียนการเลี้ยงผักเคล ปัญหา อุปสรรคของการปลูกผักเคล ปัญญาศัตรูพืช ปลูกผักเคลระบบปิดหรือเปิดดีกว่า ปัญหาเรื่องการเตรียมดิน

 

80 0

3. ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3

วันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ได้แบบสอบติดตามเยี่ยม
  • แกนนำสามารถคำนวณ ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ได้ และสามารถแปลผลได้ถูกต้อง
  • แกนนำสามารถวัดความดันโลหิต และวัดรอบเอวได้และสามารถแปลผลได้ถูกต้อง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • แจ้งคณะทำงาน กำหนดวัน เวลา และสถานที่
  • ร่วมออกแบบแบบติดตามเยี่ยมบ้านและทำความเข้าใจและฝึกการลงข้อมูล
  • ร่วมประชุมกำหนดรูปแบบการลงเยี่ยมติดตาม
  • ทำความเข้าใจกับแบบสอบถาม
  • ทำความเข้าเกี่ยวกับการเก็บภาพ
  • ร่วมกำหนดการส่งรายงาน
  • ทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัดรอบเอว วัดความดัน และการคำนวณค่าดัชนีมวลกาย

 

10 0

4. ติดตามความก้าวหน้าพร้อมลงเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 1

วันที่ 14 สิงหาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลจากการติดตามเยี่ยมครั้งที่ 1 พบว่า สมาชิกที่มีค่าดัชนีมวลกายเกิน 25 มีจำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 50 ของสมาชิกทั้งหมด รอบเอวเกิน 80 ซ.ม. ในผู้หญิง และเกิน 90 ซ.ม.ในผู้ชาย จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 62.5 ของสมาชิกทั้งหมด
มีสมาชิกที่เป็นผู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำนวน 27 คิดเป็นร้อยละ 33.75 คน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ทำหนังสือแจ้งกำหนดการเยี่ยมกับสมาชิก
  • ซักประวัติส่วนตัว และประวัติโรคประจำตัว พฤติกรรมการบริโภค ผักที่บริโภคเป็นประจำ
  • แกนนำ ชั่งน้ำหนัก วัดความดัน วัดรอบเอวให้กับสมาชิก พร้อมกับคำนวนดัชนีมวลกาย
  • สำรวจชนิดผักที่ครัวเรือนปลูกไว้เพื่อบริโภค

 

35 0

5. ติดตามความก้าวหน้าพร้อมลงเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 2

วันที่ 3 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รู้กระบวนการในการทำน้ำหมักชีวภาพ และได้น้ำหมักชีวภาพคนละ 1 กระปุก

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • กำหนดวัน เวลา และสถานที่
  • แจ้งสมาชิกมาร่วมน้ำหมักชีวภาพเพื่อบริโภคจากผลไม้ในท้องถิ่น
  • ให้สมาชิกเตรียมผลไม้และอุปกรณ์ที่ใช้ทำการทำน้ำหมัก

 

35 0

6. ติดตามความก้าวหน้าพร้อมลงเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 3

วันที่ 18 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

สมาชิกสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค เพิ่มการบริโภคผักมากขึ้น ส่งผลให้สมาชิกมีค่าดัชนีมวลกายเกิน 25 ลดลง 19 คนจาก 40 คนของการเยี่ยมครั้งที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 40 รอบเอวเกิน 80 ซ.ม.ในผู้หญิงและ 90 ซ.ม .ในผู้ชายลดลง 16 จาก 50 คนของการเยี่ยมครั้งที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 32

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ติดตามความก้าวหน้าการเยี่ยมบ้านสมาชิก
  • ซักประวัติ พฤติกรรมการบริโภค
  • ชั่งน้ำหนัก วัดความดัน วัดรอบเอว คำนวนค่าดัชนีมวลกาย
  • ติดตามการปลูกผักของโครงการ เช่น ผักเคล จิงจูฉ่าย เสาวรส และบัวบก -ปัญหาอุปสรรคในการปลูกผักของโครงการ

 

35 0

7. ประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4

วันที่ 18 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • ได้รูปแบบการจัดกิจกรรม
  • สรุปแบบติดตามเยี่ยมบ้าน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • แจ้งคณะทำงาน จำนวน 10 คน เพื่อเตรียมการจัดกิจกรรมที่ 6 เวทีถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสรุปผลโครงการ
  • ร่วมสรุปผลการเยี่ยมติดตามสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 และครั้งที่ 3

 

10 0

8. กิจกรรมที่ 6 เวทีถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผลโครงการ

วันที่ 21 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  • แกนนำปลูกผักอยากได้แกนนำปลูกผักเพิ่มในอีกหลายๆโซน
  • ขอให้มีการเพิ่มชนิดของผักมากขึ้นจากผักของโครงการ 4 ชนิด (ผักเคล จิงจูฉ่าย บัวบก เสาวรส )
  • สมาชิกร่วมมือ มีความกระตือรือร้น
  • เสนอแนะให้มีการทำบัญชีครัวเรือน
  • ขาดกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย เช่น สำนักงานเกษตรอำเภอ อบต. สาธารณสุข
  • เกิอความสำนึกในการเลือกบริโภคอาหารต่างๆ มากขึ้น
  • ได้เกิดความสัมพันธ์ พบปะ กับเพื่อนๆในชุมชนเดียวกันมากขึ้น ที่มีเป้าหมายเดียวกันในการดูแลรักษาสุขภาพ การปลูกผัก มีความสนใจในสุขภาพของคนในครอบครัวมากขึ้น
  • ควรมีการโครงการอย่างต่อเนื่องในปีถัดไป
  • ควรมีการปลูกผักในพื้นที่ส่วนร่วม

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  • ทำหนังสือเชิญวิทยากร /ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ประสานพี่เลี้ยงโครงการ
    -เตรียมสถานที่
  • เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการทำกิจกรรม
  • กิจกรรมเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยแบ่งกลุ่มเป็น 5 กลุ่ม โดยให้สมาชิกมีการถอดบทเรียนเกี่ยวกับการทำโครงการ
  1. ใครคือแกนนำของกลุ่ม กี่คน

- เพียงพอหรือไม่ - ควรมีหรือไม่ ถ้ามี ควรมีบทบาทเช่นไร - มีวิธีการคัดเลือกอย่างไร 2. อะไรบ้างที่ทำได้ดีแล้ว - สิ่งที่ชัดเจน คืออะไร - ทำกิจกรรมไปแล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง - อะไรที่ทำไปแล้ว ไม่ได้ประโยชน์ ไม่ควรทำอีกในรอบต่อไป 3. มีอะไรบ้างที่ช่วยให้งานเสร็จ - ด้านคน - วิธีการ - สิ่งสนับสนุน - อะไรบ้างที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน 4. สิ่งใหม่ๆ ที่ค้นพบจากการทำกิจกรรม ที่ไม่เคยมีมาก่อน (อาจไม่เหมือนกันแต่ละคน - ด้านสิ่งแวดล้อม ทางสังคมเช่น เครือข่าย กลุ่ม ค้นพบภูมิปัญญา - วิธีการ องค์ความรู้ นวัตกรรม - การเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ - การเปลี่ยนแปลงด้านการเงิน - การจัดการด้านข้อมูล และอื่นๆ 5. โครงการต่ออีก ควรทำต่อไปอีกหรือไม่ ถ้าทำต่อ อะไรคือ ความต้องการ - ความต้องการสิ่งสนับสนุน - หน่อยงาน/องค์กร/ความรู้ - อื่นๆ 6. สิ่งที่อยากจะบอกทีมงานมีอะไรบ้าง

 

50 0

9. ค่าจัดเอกสารและบันทึกรายงาน

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

เอกสารและรายงานโครงการเสร็จสมบูรณ์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

จัดทำเอกสารและบันทึกรายงานของโครงการ

 

1 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 19 18                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 80,000.00 80,500.00                    
คุณภาพกิจกรรม 72                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นางรัตนา สอและ
ผู้รับผิดชอบโครงการ