directions_run

ครอบครัวอบอุ่นไร้ความรุนแรงสื่อสารพลังบวก ตำบลนาท่อม

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เกิดคณะทำงานเป็นพี่เลี้ยงครอบครัวสื่อสารพลังบวก
ตัวชี้วัด : 1.เกิดคณะทำงานพี่เลี้ยงครอบครัวพลังบวก มาจาก ศูนย์ศพค/ทต/รร/ปก/อพม จำนวน 20 คน 2.คณะทำงาน มีความรอบรู้ ครอบครัวสื่อสารพลังบวก 3.มีขัอมูลสถานการณ์ครอบครัว ตำบลนาท่อม
20.00 21.00
  1. มี คณะทำงานพีเลี้ยงครอบครัวพลังบวก จำนวน 21 คน ที่มา ศูนย์พัฒนาครอบครัว เป็นหลัก ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เทศบาล โรงเรียน ฝ่ายปกครอง ครอบคลุมทั่วชุมชน
  2. คณะทำงาน มีการพัฒนาศักยภาพการเป็นพี่เลี้ยง จากศูนย์คุณธรรมครอบครัวพลังบวก เป็น ครู ก ครู ข  จำนวน 9 คน
  3. มีการเก็บข้อมูลสถานการณ์ครอบครัว
  1. จากการที่มีคณะทำงานที่ครอบคลุมทั่วชุมชน สามารถเข้าถึงครอบครัวที่มีปัญหาได้คล่องตัวขึ้น และสามารถส่งต่อเชื่อมประสานกับภาคีหน่วยงานที่รับเรื่องโดยตรง
  2. พี่เลี้ยงที่ผ่านการพัฒนากับศูนย์คุณธรรมครอบครัวพลังบวก มีความเข้าใจถึง บทบาทหน้าที่ได้ดีขึ้น และสามารถนำเอาเครื่องมือที่ได้เรียนรู้มาใช้กับครอบครัวกลุ่มเป้าหมาย

คณะทำงานของโครงการส่วนใหญ่เป็นคณะทำงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลนาท่อม ซึ่ง ประกอบไปด้วย ท้องที่ ท้องถิ่น ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง แต่ยังไม่เห็น แกนนำเยาวชนเข้ามาร่วมเป็นคณะทำงาน

2 เพื่อคณะทำงานมีความรอบรู้และขับเคลื่อนงานได้
ตัวชี้วัด : 1.เกิดแผนพัฒนาครอบครัวเข้มแข็งตำบลนาท่อม.ที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูล 2.เกิดแผนดำเนินงานครอบครัวสื่อสารพลังบวก จากความต้องการของเด็ก ผู้ปกครอง 3.เกิดหลักสูตรครอบครัวอบอุ่นสื่อสารพลังบวกของตำบลนาท่อม
20.00 30.00
  1. มีแผนพัฒนาครอบครัวเข้มแข็งที่ผ่านการวิเคราะห์จากข้อมูลสถานการณ์ครอบครอบ
  2. มีแผนที่เด็กเยาวชน ได้กำหนดร่วมกับกับคณะทำงาน แผนการจัดเข้าค่ายครอบครัวพลังบวก แผน เล่าเรื่องเป็นละครสื่อสารพลังบวก
  3. มีหลักสูตรสันทนาการสร้างสุข สือสารพลังบวก
  1. แผนพัฒนาครอบครัวเข้มแข็งตำบลนาท่อม สามารถเชื่อมต่อกับ พมจ. เพื่อของโครงการสู่ชุมชน
  2. เด็กเยาวชนสามารถวางแนวทางการดำเนินกิจกรรมที่ตรงจุดตามสถานการณ์ของครอบครัว

ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด ทั้ง3 ตัวชี้วัด ข้อสังเกตุ เกิดจาการเก็บข้อมูลสถานการรณ์และผ่านกาวิเคราะห์ ทำให้เกิดแผน เกิดหลักสูตร แนวทางการแก้ไข ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

3 เพื่อเกิดปฏิบัติการครอบครัวสื่อสารพลังบวก
ตัวชี้วัด : 1.เกิดพื้นที่ โชว์ แชร์ เพื่อรณรงค์สื่อสารสร้างครอบครัวพลังบวกไร้ความรุนแรงอย่างน้อย 1 แหล่ง 2.มีสื่อเพื่อเผยแพร่กิจกรรมครอบครัวอบอุ่นพลังบวกไร้ความรุนแรง อย่างน้อย 2 ช่องทาง
3.00 1.00
  1. มีพื้นที่สร้างสรรค์ 1 พื้นที่

พื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านโคกแย้ม

ผลลัพธ์ เกิดกิจกรรมครอบครัวผลจากการทำค่ายครอบครัว ในระดับตำบล หมู่ที่ 2 บ้านโคกแย้ม แกนนำพี่เลี้ยงในชุมชนยบับต่่อ ดำเนินการร่วมกับ โรงเรียนโคกแย้ม ครู เด็ก ผู้ปกครอง ศูนย์พัฒนาครอบครัว เทศบาล ฝ่ายปกครอง เปิดโอกาสให้เด็กและครอบครัวในชุมชน ทำกิจกรรมแผนที่เดินดิน สืบค้นมโนราห์ ทวดตาลก ผลที่ได้รับ โรงเรียน ศพค เทศบาล ทราบปัญหา เด็กครอบครัวยากจน ไม่มีห้องน้ำเด็กผู้หญิงมีความเสี่ยง ประสาน พมจ และบ้านพักเด็ก ได้รับการแก้ปัญหา จากการพบและประสานส่งต่อ

4 เพื่อเกิดครอบครัวอบอุ่นไร้ความรุนแรงสื่อสารพลังบวก
ตัวชี้วัด : 1.เกิดครอบครัวอบอุ่นต้นแบบสื่อสารพลังบวกอย่างน้อย 8 ครอบครัว หมู่บ้านละ 1 ครอบครัว
8.00 8.00

จากการจัดค่ายครอบครัวเกิดครอบต้นแบบ 8 ครอบครัว จาก 8 หมู่บ้าน

เป็นครอบครัวอบอุ่นไร้ความรุนแรงต้นแบบของชุมชน

เด็กเป็นพี่เลี้ยงชุมชนในกลุ่มของเด็กและเยาวชนที่เกิดจากการเห็นช่องว่างของการพัฒนาโดยการทำกิจกรรม แต่ไม่สามารถเดินไปข้างหน้าได้ถ้าไม่พัฒนนาและต่อยอดกิจกรรมในการสร้างและพัฒนาพี่เลี้ยงเด็กให้ข้บเคลื่อนงานเองได้ ชุมชนก็จะขาดช่วงอีก คือ พอจบระดับประถมแล้วเด็กก็จะกระจายไปคนละทิศทางรวมตัวกันไม่ได้อีก ชุมชนต้องเริ่มต้นใหม่อีก