directions_run

โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านทุ่งเลียบ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านทุ่งเลียบ ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจรัสณี เจริญวิริยภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านทุ่งเลียบ

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-10156-014 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2566 ถึง 20 ธันวาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านทุ่งเลียบ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านทุ่งเลียบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านทุ่งเลียบ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-10156-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2566 - 20 ธันวาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,300.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เกิดความรู้
  2. เกิดกลไกขับเคลื่อนงาน
  3. เกิดพื้นที่สร้างสรรค์
  4. เกิดพฤติกรรมบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน
  2. จัดทำป้ายโครงการ
  3. เวทีสร้างความเข้าใจโครงการ (ประชุมหมู่บ้าน) 20 คน
  4. ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ อ.เขาชัยสน
  5. จัดทำข้อมูลก่อน-หลัง การลดความเสี่ยง
  6. ประชุมคณะทำงาน
  7. เวทีให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโถคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสมกับวัย
  8. ประชุมคณะทำงาน จัดตั้งกลไกติดตามและจัดตั้งกติกาข้อตกลง
  9. เวทีประเมินผล ARE ในพื้นที่
  10. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1 เวทีกลาง
  11. ค่าอินเตอร์เนต บริหารโครงการ
  12. ปรับปรุงพื้นที่ จัดตั้งจุดแลกเปลี่ยนอาหารที่เหมาะสมกับวัย และทำกิจกรรมสร้างสรรค์ ภูมิปัญหาอาหารปลอดภัย เหมาะสมกับวัย
  13. เวทีสรุปผลโครงการ
  14. ประชุมคณะทำงาน/ประชุมคณะทำงานจัดตั้งกลไกติดตามและจัดตั้งกติกาข้อตกลง
  15. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 2 เวทีกลาง
  16. เวทีถอดบทเรียน
  17. เวทีรวมพลคน 3 วัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
ผู้สูงอายุ 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เข้าร่วมการอบรมกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมอบรมครบ 3 คน จนจบการอบรม / ได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการทำเอกสารการเงิน และสามารถจัดทำรายงานผ่านเวปไซด์ได้

 

3 0

2. จัดทำป้ายโครงการ

วันที่ 28 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้จัดทำป้ายโครงการจำนวน 1 ป้าย

 

1 0

3. เวทีสร้างความเข้าใจโครงการ (ประชุมหมู่บ้าน) 20 คน

วันที่ 30 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เชิญวิทยากรในการให้ความรู้กับคณะการทำงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งหมด 45 คน / คณะทำงานและผู้สูงอายุได้มีความรู้ ความเข้าใจถึงวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

20 0

4. ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ อ.เขาชัยสน

วันที่ 22 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ ชมรมผู้สูงอายุ รพ.เขาชัยสน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน / ผู้สูงอายุได้เรียนรู้การบริหารงาน ได้เห็นความสามัคคี ความเข้มแข็งของชมรมต้นแบบ

 

20 0

5. จัดทำข้อมูลก่อน-หลัง การลดความเสี่ยง

วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สำรวจกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน / ก่อนการสำรวจ กลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคอาหารที่มีรสชาติหวาน มัน เค็ม หลังการสำรวจกลุ่มเป้าหมายมีการบริโภคหวาน มัน เค็ม ที่ลดลง

 

60 0

6. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 8 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาหารือจากการทำกิจกรรมที่ผ่านมา และเตรียมความพร้อมสำหรับกิจกรรมต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน / ได้รู้ข้อบกพร่องในการทำกิจกรรมที่ผ่านมาและนำมาปรับปรุงแก้ไขเพื่อพัฒนาในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป

 

20 0

7. เวทีให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโถคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสมกับวัย

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เชิญวิทยากรให้ความรู้ทางด้านสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน / ผู้สูงอายุได้รับความรู้ในการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะกับวัย

 

30 0

8. ประชุมคณะทำงาน จัดตั้งกลไกติดตามและจัดตั้งกติกาข้อตกลง

วันที่ 15 กรกฎาคม 2566 เวลา 10:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการวางแผนและสรุปผลของกิจกรรมที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 18 คน / เกิดคณะทำงาน และกติกาข้อตกลง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

 

20 0

9. เวทีประเมินผล ARE ในพื้นที่

วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการประเมินผล/ผลที่ได้รับ ของทุกกิจกรรมที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้ร่วมเข้าร่วมกิจกรรม 20 คน / เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร การลด หวาน มัน เค็ม และการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย

 

20 0

10. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1 เวทีกลาง

วันที่ 24 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการปะเมินผลเพื่อเรียนรู้และพัฒนา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เข้าร่วมกิจกรรม 2 คน / นำความรู้ที่ได้มาปรับปรุงและพัฒนาโครงการ

 

3 0

11. ปรับปรุงพื้นที่ จัดตั้งจุดแลกเปลี่ยนอาหารที่เหมาะสมกับวัย และทำกิจกรรมสร้างสรรค์ ภูมิปัญหาอาหารปลอดภัย เหมาะสมกับวัย

วันที่ 9 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดพื้นที่สำหรับมุมรักสุขภาพ (โต๊ะหินอ่อนและหนังสือเกี่ยวกับสุขภาพ,ผักปลอดสารพิษ) ปรับปรุงพื้นที่ตลาดนัดให้เหมาะสมกับการออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บุคคลทั่วไป ทุกกลุ่มวัย ที่มีความสนใจด้านสุขภาพ / ได้รับการตอบรับจากกลุ่มประชาชนที่มีความสนใจทางด้านสุขภาพเป็นอย่างดี

 

20 0

12. เวทีสรุปผลโครงการ

วันที่ 6 กันยายน 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรม/จัดนิทรรศการ/จัดบู๊ท   -เมนูอาหารเพื่อสุขภาพ   -ผักผลไม้ ปลอดสารพิษ   -ออกกำลังกายด้วยผ้าขาวม้าและแอโรบิกสำหรับผู้สูงอายุ   -นวดฝ่าเท้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมมากกว่ากลุ่มเป้าหมายที่ตั้งไว้ 60 คน / ประชาชนใส่ใจเกี่ยวกับสุขภาพมากขึ้น (การออกกำลังกาย/อาหารเพื่อสุขภาพ)

 

100 0

13. ประชุมคณะทำงาน/ประชุมคณะทำงานจัดตั้งกลไกติดตามและจัดตั้งกติกาข้อตกลง

วันที่ 29 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการวางแผนและสรุปผลของกิจกรรมที่ผ่านมา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 18 คน / เกิดคณะทำงาน และกติกาข้อตกลง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค

 

0 0

14. เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 2 เวทีกลาง

วันที่ 31 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้โครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เข้าร่วมกิจกรรม 3 คน / นำความรู้ที่ได้มาปรับปรุงและพัฒนาโครงการ

 

3 0

15. เวทีถอดบทเรียน

วันที่ 12 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การติดตามความคืบหน้า/ความสำเร็จของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 3 คน / มีการรวมตัว มีการแลกเปลี่ยน ชวนคุย ในเรื่องของอาหารเพื่อสุขภาพ

 

0 0

16. เวทีรวมพลคน 3 วัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

วันที่ 19 ธันวาคม 2566 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ออกบูธกิจกรรมโชว์อาหารเพื่อสุขภาพ และสรุปผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน / มีผู้เข้ามาเยี่ยมชมภายในบูธการจัดงาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เกิดความรู้
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจและตระหนัก อย่างน้อยร้อยละ 80 2. ผู้สูงอายุเข้าร่วมและออกแบบ บริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
0.00 100.00

 

2 เกิดกลไกขับเคลื่อนงาน
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน 13 คน ผู้สูงอายุ รพ.สต. ท้องถิ่น ท้องที่ อสม. โดยกลุ่มแบ่งบทบาทการทำงาน 2. มีกติกาข้อตกลง/ขับเคลื่อนงาน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 3. มีกลไกการติดตาม/เฝ้าระวัง ผู้สูงวัยดูแลสุขภาพ 4. มีข้อมูลก่อน-หลัง การวัดความเสี่ยงการดูแลสุขภาพ เกิดเมนูและการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับวัย
0.00

 

3 เกิดพื้นที่สร้างสรรค์
ตัวชี้วัด : 1. มีพื้นที่กลางสำหรับทำกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัย 2. เกิดจุดแลกเปลี่ยน พืช ผัก และอาหารที่เหมาะสมกับวัยอย่างน้อย 1 จุด
0.00

 

4 เกิดพฤติกรรมบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัย ร้อยละ80 2. เกิดครัวเรือนต้นแบบ 10 ครัวเรือน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้สูงอายุ 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เกิดความรู้ (2) เกิดกลไกขับเคลื่อนงาน (3) เกิดพื้นที่สร้างสรรค์ (4) เกิดพฤติกรรมบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน (2) จัดทำป้ายโครงการ (3) เวทีสร้างความเข้าใจโครงการ (ประชุมหมู่บ้าน) 20 คน (4) ศึกษาดูงานพื้นที่ต้นแบบ อ.เขาชัยสน (5) จัดทำข้อมูลก่อน-หลัง การลดความเสี่ยง (6) ประชุมคณะทำงาน (7) เวทีให้ความรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโถคอาหารที่ถูกต้อง เหมาะสมกับวัย (8) ประชุมคณะทำงาน จัดตั้งกลไกติดตามและจัดตั้งกติกาข้อตกลง (9) เวทีประเมินผล ARE ในพื้นที่ (10) เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 1 เวทีกลาง (11) ค่าอินเตอร์เนต บริหารโครงการ (12) ปรับปรุงพื้นที่ จัดตั้งจุดแลกเปลี่ยนอาหารที่เหมาะสมกับวัย และทำกิจกรรมสร้างสรรค์ ภูมิปัญหาอาหารปลอดภัย เหมาะสมกับวัย (13) เวทีสรุปผลโครงการ (14) ประชุมคณะทำงาน/ประชุมคณะทำงานจัดตั้งกลไกติดตามและจัดตั้งกติกาข้อตกลง (15) เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ครั้งที่ 2 เวทีกลาง (16) เวทีถอดบทเรียน (17) เวทีรวมพลคน 3 วัย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมกับผู้สูงอายุบ้านทุ่งเลียบ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-10156-014

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจรัสณี เจริญวิริยภาพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด