directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1เพื่อให้ผู้ดูแลและผุ้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.1 ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพอย่างน้อย 70 คน 1.2 สามารถออกแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสมและถูกวิธี
1.00 1.00 134.00

ควรมีการติดตามผลการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มเป้าหมายที่ทั้งผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแล และอาสาสมครคนดูแลทั้ง 96 คน ว่ามีความเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านสุขภาวะทั้งมีติด้านสังคม ด้านสุขภาพ ด้านเศรฐกิจ และสภาพแวดล้อม ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง เพื่อเป็นแนวทางในการต่อยอดยกระดับการขับเคลื่อนการออกแบบกิจกรรมให้มีความสอดคล้องกับสถานการณ์์และกลุ่มเป้าหมายได้ถูกวิธี

2 เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดคณะทำงาน 11 คน ประกอบด้วยตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ ท้องถิ่น รพ.สต. อสม. ผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม กองทุนสวัสดิการชุมชน 2.2 มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบชัดเจน 2.3 มีข้อมูลและกำหนดแบบแผนการขับเคลื่อนการส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 2.4 มีกติการ่วมกันในการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ 2.5 มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
11.00

ควรจะมีการออกแบบทบทวนการทำงานกลไกการขับเคลื่อนที่ให้มีเยาวชนคนรุ่นใหม่ในชุมชนมาเสริมการทำงานเพื่อมาเติมเต็มในการบันทึกข้อมูลที่เป็นระบบสืบค้นได้ง่าย และเป็นการสร้างแกนนำรุ่นใหม่มาเสริมทีมทำงานให้มีความเข้มแข็ง

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 3.1 เกิดกลุ่มส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 กลุ่ม 3.2 เกิดพื้นที่สร้างสรรส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 3.3 มีกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย
2.00

เป็นการจัดตั้งกลุ่มที่ที่สอดคล้องกับพื้นที่ ทำให้ผู้สูงอายุนำภูมิปัญญาที่มีอยู่แล้ว เช่นการสานเสื่อกระจูด มาใช้ประโยขน์ในการทำกิจกรรมเกิดความสัมพันธ์ที่ดีในชุมชนและเสริมรายได้ให้กับสมาชิกด้วยการนำวัตถุดิบทรัพยากรในชุมชนมาเสริมรายได้สร้างมูลค่าเพิ่มสู่การเกิดพื้นที่สร้างสรรค์ในชุมชน

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 4.1 มีผู้ดูแลผู้สูงอายุ/ผู้สูงอายุ ดูแลสุขภาพที่ถูกวิธีได้อย่างน้อย 70 คน 4.2 เกิดผู้สูงอายุต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ
96.00

ถึงแม้ว่าจะมีแกนนำสนใจในการสมัครเป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุ มากกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ ถึงจำนวน 96 คน แต่เนื่องจากเพิ่งเริ่มฝึกทักษะและกระบวนการในการดูแลผู้สูงอายุ จึงยังไม่เกิดผู้ดูแลผู้สูงอายุรวมถึงผู้สูงอายุต้นแบบที่ได้รับการดูแล ที่เป็นต้นแบบได้

5 เพื่อให้มีนโยบายที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : 5.1 มีแผนสนับสนุนด้านการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ 5.2 มีงบประมาณสนับสนุนอย่างชัดเจนและต่อเนื่องในการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ
0.00

เนื่องจากการขับเคลื่อนโครงการภายใต้กิจกรรมการดูแลผู้สูลอายุ ยังอยู่ในช่วงเริ่มต้นการดำเนินงาน จึงยังไม่มีการจัดทำแผนการทำงานในการประสานความร่วมมือกับท้องถื่นเพื่อผลักดันให้เกิดเป็นนโยบายและแผนปฎิบัติการร่วมของท้องถิ่น คือเทศบาลตำบลพญาขันธ์ในการทำงานเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 96
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 24
ผู้สูงอายุ จำนวน 6 หมู่บ้าน 72

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1เพื่อให้ผู้ดูแลและผุ้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพ (2) เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพ (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี (5) เพื่อให้มีนโยบายที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปฐมนิเทศโครงการ (2) 3. ประชุมจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (3) 1. เวทีสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ (4) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่1 (5) สรุปผลการดำเนินงาน งวดที่1 (รับเช็คสนามกลาง) (6) 2. อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (7) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่2 (8) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่3 (9) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่4 (10) 8. จัดกิจกรรมสร้างสรรผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ (11) จัดทำพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ (12) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่5 (13) 6. เวทีสรุปติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (14) กิจกรรมติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (ARE) ครั้งที่ 1 (15) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่6 (16) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่7 (17) 5. จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุภาวะของผู้สูงอายุ (18) 7. ปรับสภาพแวดล้อมหาพื้นที่กิจกรรมสร้างสรรค์ลานบ้านลานใจ (19) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่8 (20) 10. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลผู้สูงอายุ (21) 9. จัดกิจกรรมประเภทของการออกกำลังกายและนันทนาการร่วมกันของผู้สูงอายุให้เหมาะสมกับวัย (22) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่9 (23) กิจกรรมที่ 5 จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ (24) 11. จัดเวทีสรุปบทเรียนผลการดำเนินงานโครงการ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ (เวทีปิดโครงการ) (25) 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่10 (26) กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE ครั้งที่2) (27) กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE 2)จังหวัด (28) กิจกรรมที่5 จัดทำฐานข้อมูลสถานะการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ (29) กิจกรรม ประชุมถอดบทเรียนพื้นที่แต่ละโครงการ (ประมงจังหวัด) (30) กิจกรรม เตรียมอุปกรณ์ในการจัดบูช (กองทุน/ร.ร.อุบลรัตน์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh