directions_run

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุต.พญาขัน
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 65-10156-017
วันที่อนุมัติ 16 กุมภาพันธ์ 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 16 กุมภาพันธ์ 2566 - 15 ตุลาคม 2566
งบประมาณ 56,300.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลตำบลพญาขัน
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสกล กาฬสุวรรณ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0929829952
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ prateepa@hotmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางเบญจวรรณ เพ็งหนู
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลพญาขัน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.648995,100.109749place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 16 ก.พ. 2566 15 มิ.ย. 2566 16 ก.พ. 2566 31 ก.ค. 2566 28,150.00
2 16 มิ.ย. 2566 15 ก.ย. 2566 1 ส.ค. 2566 19 ธ.ค. 2566 22,520.00
3 16 ก.ย. 2566 15 ต.ค. 2566 20 ธ.ค. 2566 20 ธ.ค. 2566 5,630.00
รวมงบประมาณ 56,300.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1

ปัจจุบันตำบลพญาขันมีผู้สูงอายุทั้งหมด 1,158 คน (ข้อมูลจากเทศบาลตำบลพญาขัน ปี 2564 ) พบว่าผู้สูงอายุในเขตพื้นที่รับผิดชอบของรพ.สต.บ้านเขาแดงครอบคลุม 6 หมู่บ้าน จำนวน 780 คน ผู้ชาย 340 คน ผู้หญิง 440 คนและจากข้อมูลการคัดกรอง พบว่าผู้สูงอายุมีภาวะสมองเสื่อม 9 คน ภาวะซึมเศร้า 2 คน โรคเบาหวาน 167 คน โรคความดันโลหิตสูง 385 คน ผู้ป่วยติดเตียงและติดบ้าน 15 คนและยังมีผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพายาจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านเขาแดง 170 คน
ผู้สูงอายุแต่ละคนมีสภาพปัญหาร่างกายที่แตกต่างกันจึงต้องการผู้ดูแล ซึ่งบางรายไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้จำเป็นต้องพึ่งพาผู้ดูแลอย่างใกล้ชิดและเหมาะสม แต่ปัจจุบันผู้ดูแลผู้สูงอายุที่ผ่านการอบรมระดับCGมีทั้งหมดเพียง 5 คน และหลักสูตรบริบาลผู้สูงอายุ 1คน ซึ่งความรู้ ความเข้าใจยังมีอยู่น้อยมาก ในการที่จะต้องเตรียมความพร้อมด้านทักษะในการดูแลรับมือสังคมผู้สูงอายุในอนาคต
ทางกองทุนสวัสดิการชุมชนเทศบาลตำบลพญาขันเล็งเห็นถึงความสำคัญต่อผู้ดูแลผู้สูงอายุในการช่วยเหลือผู้สูงอายุให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีและสามารถดำรงชีวิตอย่างปกติและเหมาะสมตามช่วงวัย  โดยให้ผู้ดูแลสูงอายุที่ผ่านการอบรม 70% สามารถใช้ความรู้จากการอบรมไปช่วยเหลือในการดูแลผู้สูงอายุให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้นพร้อมที่จะดูแลตัวเองได้ในเบื้องต้น จึงจัดทำข้อเสนอโครงการนี้ขึ้น

1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

การเห็นผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถดำรงชีวิตได้ด้วยตนเอง สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ตามช่วงวัย และส่งเสริมผู้ดูแลให้มีทักษะในการดูแลผู้สูงอายุ ให้เกิดบรรยากาศของครอบครัวอบอุ่น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1เพื่อให้ผู้ดูแลและผุ้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพ

1.1 ผู้ดูแลและผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพอย่างน้อย 70 คน 1.2 สามารถออกแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสมและถูกวิธี

1.00 1.00
2 เพื่อให้เกิดกลไกการขับเคลื่อนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ

2.1 เกิดคณะทำงาน 11 คน ประกอบด้วยตัวแทนจากชมรมผู้สูงอายุ ท้องถิ่น รพ.สต. อสม. ผู้ดูแลที่ผ่านการอบรม กองทุนสวัสดิการชุมชน
2.2 มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบชัดเจน
2.3 มีข้อมูลและกำหนดแบบแผนการขับเคลื่อนการส่งเสริมดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
2.4 มีกติการ่วมกันในการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ
2.5 มีการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน

3 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพ

3.1 เกิดกลุ่มส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุอย่างน้อย 2 กลุ่ม
3.2 เกิดพื้นที่สร้างสรรส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
3.3 มีกิจกรรมที่ส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี

4.1 มีผู้ดูแลผู้สูงอายุ/ผู้สูงอายุ ดูแลสุขภาพที่ถูกวิธีได้อย่างน้อย 70 คน
4.2 เกิดผู้สูงอายุต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ

5 เพื่อให้มีนโยบายที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ

5.1 มีแผนสนับสนุนด้านการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ
5.2 มีงบประมาณสนับสนุนอย่างชัดเจนและต่อเนื่องในการส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุ

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 96
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 24 -
ผู้สูงอายุ จำนวน 6 หมู่บ้าน 72 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 435 56,300.00 26 53,670.00
16 ก.พ. 66 ปฐมนิเทศโครงการ 3 6,300.00 600.00
26 ก.พ. 66 3. ประชุมจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 11 630.00 630.00
11 มี.ค. 66 1. เวทีสร้างความเข้าใจในการขับเคลื่อนโครงการ 60 8,600.00 8,600.00
18 มี.ค. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่1 11 630.00 630.00
20 มี.ค. 66 สรุปผลการดำเนินงาน งวดที่1 (รับเช็คสนามกลาง) 0 0.00 0.00
25 - 26 มี.ค. 66 2. อบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ 60 19,300.00 19,300.00
3 เม.ย. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่2 11 0.00 0.00
30 เม.ย. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่3 11 0.00 0.00
28 พ.ค. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่4 11 0.00 0.00
10 มิ.ย. 66 8. จัดกิจกรรมสร้างสรรผู้สูงอายุที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของพื้นที่ 20 3,340.00 3,340.00
10 มิ.ย. 66 จัดทำพื้นที่เขตปลอดบุหรี่ 0 0.00 0.00
25 มิ.ย. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่5 11 0.00 0.00
23 ก.ค. 66 6. เวทีสรุปติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) 15 2,600.00 1,300.00
24 ก.ค. 66 กิจกรรมติดตามประเมินผลแบบมีส่วนร่วม (ARE) ครั้งที่ 1 3 0.00 400.00
30 ก.ค. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่6 11 0.00 0.00
27 ส.ค. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่7 15 0.00 -
2 ก.ย. 66 5. จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุภาวะของผู้สูงอายุ 11 2,490.00 1,830.00
10 ก.ย. 66 7. ปรับสภาพแวดล้อมหาพื้นที่กิจกรรมสร้างสรรค์ลานบ้านลานใจ 20 0.00 0.00
16 ก.ย. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่8 15 0.00 -
23 ก.ย. 66 10. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลผู้สูงอายุ 35 6,450.00 6,450.00
24 ก.ย. 66 9. จัดกิจกรรมประเภทของการออกกำลังกายและนันทนาการร่วมกันของผู้สูงอายุให้เหมาะสมกับวัย 60 3,500.00 3,500.00
30 ก.ย. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่9 15 0.00 -
2 ต.ค. 66 กิจกรรมที่ 5 จัดทำฐานข้อมูลสถานการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ 0 0.00 330.00
8 ต.ค. 66 11. จัดเวทีสรุปบทเรียนผลการดำเนินงานโครงการ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะของผู้สูงอายุ (เวทีปิดโครงการ) 11 2,460.00 2,460.00
14 ต.ค. 66 4. ประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ครั้งที่10 15 0.00 -
24 ต.ค. 66 กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE ครั้งที่2) 0 0.00 1,300.00
31 ต.ค. 66 กิจกรรมที่6 เวทีสรุปติดตามประเมิณผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE 2)จังหวัด 0 0.00 400.00
15 พ.ย. 66 กิจกรรมที่5 จัดทำฐานข้อมูลสถานะการณ์/ด้านสุขภาวะของผู้สูงอายุ 0 0.00 0.00
7 ธ.ค. 66 กิจกรรม ประชุมถอดบทเรียนพื้นที่แต่ละโครงการ (ประมงจังหวัด) 0 0.00 600.00
19 ธ.ค. 66 กิจกรรม เตรียมอุปกรณ์ในการจัดบูช (กองทุน/ร.ร.อุบลรัตน์ 0 0.00 2,000.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ดูแลและผุ้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในการดูแลสุขภาพ 2.เกิดกลไกการขับเคลื่อนในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ 3.เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมดูแลสุขภาพ 4.ผู้สูงอายุและผู้ดูแลสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธี 5.มีนโยบายที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุ

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.พ. 2566 22:00 น.