directions_run

ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพตำบลบ้านนา

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักต่อปัญหาสุขภาพ การจัดการสุขภาพและบริโภคอาหารปลอดภัยเหมาะสมวัย
ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายเกิดความรู้ความเข้าใจและให้ความร่วมมือส่งเสริมสุขภาพและบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพเหมาะสมวัย ร้อยละ 90 - เกิดแผนการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุของตนเองอย่างน้อยร้อยละ 90

ผู้สูงอายุมีความรู้และตระหนักความสำคัญของการจัดการและดูแลสุขภาพที่เหมาะสมกับวัย ตัวชี้วัดที่เกิดขึ้น - ผู้สูงอายุ 90 มีความรู้และมีการวางแผนงานในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูและและจัดการสุขภาพและบริโภคอาหารปลอดภัยที่เหมาะสมกับวัยและสุขภาพของแต่ละบุคคล

แกนนำมีความรู้และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้สูงอายุในชุมชนได้

กระบวนการเรียนรู้/ให้ความรู้จากการทำปฏิบัติ และเชื่อมโยงภูมิปัญญาท้องถิ่น

2 เพื่อเกิดกลไกการขับเคลื่อนงาน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุขับเคลื่อนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : - เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนงานประสานความร่วมมือภาคีขับเคลื่อนงานได้การแบ่งงาน/หน้าที่รับผิดชอบตามความเหมาะสม - มีข้อมูลและแผนการดำเนินงานและแผนการส่งเสริมสุขภาพและการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ - เกิดกลไกการติดตามและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจำนวน 12 คน - เกิดการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน
  • เกิดคณะทำงานจำนวน 15 คน ที่สามารถขับเคลื่อนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • มีข้อมูลและแผนการดำเนินงานที่ปรับให้สอดคล้องกับสถานการณ์
  • มีกลไกคณะทำงานติดตามในระดับหมู่บ้านส่งเสริมและดูแลสุภาพของผู้สูงอายุ และการปรับเปลี่ยนบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ

 

 

3 ผู้สูงอายุมีการจัดการเพื่อสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายรู้และร่วมมือจัดการ ลดหวาน มัน เค็ม - กลุ่มเป้าหมายร่วมกิจกรรมสันทนาการได้อย่างมีความสุขไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50

ผู้สูงอายุมีการจัดการดูแลสุขภาพ จำนวน  คน ร้อยละ  ของกลุ่มเป้าหมาย โดยมีการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ลดหวานมันเค็ม
- มีโรงเรียนผู้สูงอายุ และพื้นที่สร้างสรรค์ในหมู่บ้านจำนวน 3 จุด
-กลุ่มเป้าหมายร่วมกิจกรรมสันทนากรอย่างมีความสุขร้อยละ 60 มีกิจรรมเช่น กิจกรรมทางกาย แลกเปลี่ยนและทำเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ จากพืชผักในชุมชน

 

 

4 เกิดผู้สูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการสุขภาพและบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูสุขภาพดีขึ้น 90% - ได้ผู้สูงอายุต้นแบบ 12 คน การจัดการสุขภาพและบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ

ผู้สูงอายุปรับเปลี่ยนมาจัดการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤิตกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพร้อยละ
เกิดผู้สูงอายุต้นแบบจำนวน 12 คน ที่ปรับเปลี่ยนดูแลสุขภาพ บริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่เหมาะสมวัย ลดหวานมันเค็ม มีกิจรรมทางกายที่เหมาะสมอย่างน้อยร้อยละ 150 นาทีต่อสัปดาห์