directions_run

โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ชุมชนนอกค่าย ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการลด ละ เลิก บุหรี่ ชุมชนนอกค่าย ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่จังหวัดปัตตานี
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 65-P1-0068-009
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน ต.ยามู
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนิรอปิอะ มะกาเจ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0967282462
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ nadpupyaring@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางวรรณาพร บัวสุวรรณ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 1 ม.ค. 2567 1 พ.ค. 2566 1 ม.ค. 2567 80,000.00
2 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 20,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานสารเสพติด
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากผลการสำรวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากรในปี 2564 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า ประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 57 ล้านคน พบ ผู้สูบบุหรี่ 9.9 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 17.4 ซึ่งมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเปรียบเทียบจากปี 2560 ซึ่งสูงถึงร้อยละ 19.1 บุหรี่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่คุกคามชีวิตของประชาชนจากโรคมะเร็งซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับ 1ในชายหญิงในควันบุหรี่มีสารก่อมะเร็งมากกว่า 70ชนิดควันบุหรี่ก่อให้เกิดผลเสียแก่สุขภาพของผู้สูบบุหรี่และผู้ไม่สูบแต่ได้รับควันบุหรี่เป็นปัจจัยก่อมะเร็งปอดมะเร็งกล่องเสียงโรคหลอดเลือดหัวใจตีบโรคหอบหืด ภูมิแพ้และโรคอื่นๆมากมาย
หลังจากนำปัญหาทั้งหมดของชุมชนมาร่วมปรึกษาหารือกัน วิเคราะห์ปัญหาชุมชน โดยใช้เครื่องมือ ต้นไม้ปัญหา เพื่อให้คณะทำงานได้ทบทวนสถานการณ์ปัญหาทั้งหมดของชุมชนปัจจัยที่จะมาหนุนเสริมให้การแก้ปัญหานั้นสามารถแก้ไขได้ และปัจจัยที่จะเป็นอุปสรรคที่จะทำให้ปัญหานั้นสามารถแก้ไขได้ ซึ่งคณะทำงานได้ดำเนินการตามกระบวนการแล้วเห็นร่วมกันว่าควรนำเอาปัญหาการสูบบุหรี่และยาสูบในกลุ่มประชาชนในชุมชนนอกค่ายนั้นมีปริมาณการสูบที่จำนวนเยอะ จากการสำรวจคนในชุมชนส่วนใหญ่จะมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่เกือบทุกครัวเรือน เนื่องด้วยภายในชุมชนมี ร้านค้าที่ขายบุหรี่และยาสูบ ราคาถูกจำนวน 3 ร้านค้า ซึ่งบริการขายตลอดเวลา และชาวบ้านส่วนใหญ่นิยมชอบซื้อจากร้านค้าเหล่านั้น เพราะสะดวก และราคาถูก ชุมชนไม่มีการจัดการมาตรการลด งด พฤติกรรมการสูบบุหรี่ที่เคร่งครัด ส่งผลให้มีจำนวนผู้สูบหรี่มีจำนวนมากในพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 21 ของประชากรชายทั้งหมด อีกทั้งทางชุมชนมีรวมกลุ่มพบปะบ่อย ที่ร้านน้ำชาในชุมชน และทุกครั้งที่มีการรวมกลุ่มมักจะมีการกลุ่มสูบบุหรี่ ถือว่าเป็นเรื่องปกติไม่มีภัยต่อสุขภาพร่างกาย และมีการสูบบุหรี่เป็นอาจิณ อย่างหลีกเลี่ยงมิได้ ชุมชนไม่มีเขตปลอดภัยและทุกพื้นที่เป็นสามารถสูบได้หมด ไม่มีแกนนำห้าม เป็นต้น ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน (เฉพาะครัวเรือนที่มีอยู่จริง) แสดงข้อมูลบริบทชุมชน เช่น ข้อมูลประชากรในชุมชน การศึกษา อาชีพ รายได้ เป็นต้น ชุมชนนอกค่ายมี จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 3๗๓ ครัวเรือน และประชากรทั้งหมด 1,383 คน เป็นชุมชนที่มีสภาพเป็นเมืองกึ่งชนบท ประชาชนในเขตชุมส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นลัปริญญาตรี ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพอิสระมีรายได้อยู่ในระดับปานกลาง
สภาพปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชน คือ จากการสำรวจปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชนนอกค่าย ซึ่งมีจำนวน ครัวเรือนทั้งหมด 373 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 1,383 คน แยกประชากรชาย 688 คน หญิง 695 คน พบว่าประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีการสูบบุหรี่ 144 คน เป็นเพศชายทั้งหมด โดยที่มีการเริ่มต้นการสูบบุหรี่ครั้งแรกตั้งแต่อายุ 12-14 ปี ช่วงอายุที่มีการสูบบุหรี่มากที่สุด คือ ช่วงอายุ 15-35ปี จำนวน 63ราย รองลงมา คือช่วงอายุ 35-59ปี จำนวน 56ราย และอายุ 60ปีขึ้นไป จำนวน 25ราย จากการสำรวจคนในชุมชนส่วนใหญ่จะมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่เกือบทุกครัวเรือน เนื่องด้วยภายในชุมชนมีร้านค้าที่ขายบุหรี่และยาสูบ ราคาถูก จำนวน 3 ร้านค้า ขายทั้งบุหรี่ไทย (มีการแบ่งขาย) บุหรี่มาเลย์ และใบจาก ซึ่งบริการขายตลอดเวลา และชาวบ้านส่วนใหญ่นิยมชอบซื้อจากร้านค้าเหล่านั้น เพราะสะดวก และราคาถูก ชุมชนไม่มีการจัดการมาตรการลด งด พฤติกรรมการสูบบุหรี่ที่เคร่งครัด ไม่มีสถานที่ปลอดบุหรี่ในชุมชนและในชุมชนไม่มีป้ายปลอดบุหรี่
/สาเหตุของปัญหา... สาเหตุของปัญหาดังกล่าว
ด้านพฤติกรรม - ขาดความรู้เรื่องโทษพิษภัยบุหรี่ - ขาดความตระหนัก - ความเคยชิน - ค่านิยม/ความคิดที่ผิด สิ่งแวดล้อมด้านสังคม   - ชอบรวมกลุ่มนั่งร้านน้ำชา - ไม่มีมาตรการที่เข้มงวดในสังคม สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพ   - บุหรี่หาซื้อง่าย   - มีสถานที่เอื้อต่อการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น   - มีร้านค้าในการจำหน่ายบุหรี่ จากปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชนนอกค่าย ที่มีพฤติกรรมการสูบบุหรี่เกือบทุกครัวเรือน เมื่อมีการรวมกลุ่ม จะมีการสูบบุหรี่เป็นอาจิณ อีกทั้งชุมชนไม่มีพื้นที่ปลอดบุหรี่ ไม่มีแกนนำห้าม ทำให้เกิดผลกระทบต่างๆตามมาในชุมชน ผลกระทบต่อชุมชนที่เห็นได้ชัด คือ ผลกระทบทางสุขภาพ   - เสี่ยงต่อการเกิดโรคทางเดินหายใจ จำนวน 144 คน     - เสี่ยงต่อการเกิดโรค Strok , ACS จำนวน 28 คน     - ครอบครัวได้รับผลกระทบจากบุหรี่มือสอง
    - มีอาการติดกลิ่นบุหรี่ ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม     - เกิดขยะจากซองบุหรี่และก้นบุหรี่ เช่น มัสยิด ร้านน้ำชา
    - ทำให้อากาศเป็นพิษ เนื่องจากสารพิษจากควันบุหรี่ ผลกระทางสังคม   - ก่อความรำคาญให้กับคนในชุมชน   - เป็นตัวอย่างที่ไม่ดีให้กับเยาวชน   - เกิดความขัดแย้งในครอบครัว ผลกระทบทางเศรษฐกิจ   - เพิ่มค่าใช้จ่ายในครัวเรือนจากการซื้อบุหรี่ ประมาณ 1,800บาท/เดือน/คน   - เพิ่มค่าใช้จ่ายในเรื่องของการดูแลสุขภาพ
  - ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนไม่เพียงพอ กลไกที่เกี่ยวข้อง... กลไกที่เกี่ยวข้อง   - การบังคับใช้กฎหมาย   - ไม่มีกฎกติกา/ข้อตกลง และการบังคับใช้ในชุมชน ดังนั้น ปัญหาเรื่องแก้ไขปัญหาการลด ละ เลิก พฤติกรรมการสูบบุหรี่และยาสูบในกลุ่มประชาชน ในชุมชนจึงเป็นประเด็นสำคัญที่คณะทำงานร่วมกันคิดว่าจะต้องแก้ไข เพื่อให้คนในชุมชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น สร้างความตระหนักในโทษพิษภัยของบุหรี่/ยาสูบ สร้างพื้นที่ปลอดบุหรี่ของคนในชุมชนบนฐานทรัพยากรที่ชุมชนมีอยู่ และให้ผู้ที่สูบบุหรี่ในชุมชน ลด ละ เลิก บุหรี่/ยาสูบในชีวิตประจำวันได้

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเกิดคณะทำงาน เพื่อการ ลด ละ เลิกบุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน

1.เกิดคณะทำงานเพื่อการลด ละ เลิก บุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน 1.1 มีคณะทำงานประกอบด้วยกรรมการชุมชน,และผู้แทนอปท. 1.2 มีแผนปฏิบัติการในการดำเนินงาน ลด ละ เลิก บุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน

2 เพื่อเกิดกติกา/ข้อตกลงในชุมชน เพื่อการ ลด ละ เลิกบุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน

2.เกิดกติกา/ข้อตกลงในชุมชน เพื่อการ ลด ละ เลิกบุหรี่/ยาสูบ ในชุมชน 2.1 มีกติกา/ข้อตกลง เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อควบคุมการสูบบุหรี่/ยาสูบ
ในชุมชน 2.2 ประชาชนรับทราบกติกา/ข้อตกลงในชุมชนประเภทของกติกา 3.ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษพิษภัยบุหรี่ 3.1 ประชาชนมีความรู้เรื่องโทษพิษภัยบุหรี่/ยาสูบ ร้อยละ 80

3 เพื่อเกิดสภาพแวดล้อมในการควบคุม การสูบบุหรี่/ยาสูบ
  1. เกิดสภาพแวดล้อมในการควบคุมการสูบบุหรี่/ยาสูบ 4.1 จำนวนร้านค้าที่ขายบุหรี่ในชุมชน ปฏิบัติตาม พรบ.ยาสูบ 2560 4.2 มีสื่อประชาสัมพันธ์ เรื่องบุหรี่ในชุมชน
    4.3 ผู้สูบบุหรี่ในชุมชน เข้าร่วมโครงการ ลด ละ เลิกบุหรี่/ยาสูบ อย่างน้อย 30 ราย 4.4 มีอาสาสมัครในการติดตามเฝ้าระวัง (กลุ่มร่วมใจสร้างชุมชนปลอดบุหรี่) 4.5 มีการติดตามเฝ้าระวังทุก 1ด./3ด./6ด.
4 เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ในชุมชนลด ละ เลิก บุหรี่/ยาสูบ ในชีวิตประจำวัน
  1. ผู้สูบบุหรี่สามารถ ลด ละ เลิกบุหรี่และยาสูบ 5.1 จำนวนผู้ที่ ลด ละ อย่างน้อยร้อยละ 30 5.2  จำนวนผู้ที่ เลิกบุหรี่ อย่างน้อยร้อยละ 10 5.3  เกิดบุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลัก 30 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67
1 ตั้งคณะทำงานดำเนินงาน จัดประชุมคณะทำงาน(6 มิ.ย. 2566-6 มิ.ย. 2566) 9,150.00                    
2 สนับสนุนบริหารการจัดการ(6 มิ.ย. 2566-6 มิ.ย. 2566) 10,000.00                    
3 ARE พี่เลี้ยง(6 มิ.ย. 2566-6 มิ.ย. 2566) 0.00                    
4 จัดเวทีประชาคม ร่วมกำหนดกติกา/ข้อตกลง เพื่อการลด ละ เลิก บุหรี่/ยาสูบ(26 มิ.ย. 2566-7 ก.ค. 2566) 15,400.00                    
5 อมรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน(28 ก.ย. 2566-29 ก.ย. 2566) 11,400.00                    
6 กิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่(24 ต.ค. 2566-5 ก.พ. 2567) 14,700.00                    
7 อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเรื่องโทษพิษภัยบุหรี่/ยาสูบ(17 พ.ย. 2566-17 พ.ย. 2566) 18,000.00                    
8 เดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ชุมชนปลอดบุหรี่ ตามร้านค้า บ้านเรือนในชุมชน(17 พ.ย. 2566-17 พ.ย. 2566) 14,000.00                    
9 เวทีถอดบทเรียน พร้อมสรุปผลดำเนินงาน(8 ม.ค. 2567-8 ม.ค. 2567) 7,350.00                    
รวม 100,000.00
1 ตั้งคณะทำงานดำเนินงาน จัดประชุมคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 9,150.00 4 9,150.00
24 ส.ค. 66 จัดประชุมคณะทำงาน ตั้งคณะทำงานครั้งที่ 1 15 2,850.00 2,850.00
13 ก.ย. 66 จัดประชุมคณะทำงาน ดำเนินงานครั้งที่ 2 0 2,100.00 2,100.00
23 พ.ย. 66 จัดประชุมคณะทำงาน ดำเนินงานครั้งที่ 3 0 2,100.00 2,100.00
22 ธ.ค. 66 จัดประชุมคณะทำงาน ดำเนินงานครั้งที่ 4 0 2,100.00 2,100.00
2 สนับสนุนบริหารการจัดการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 12 10,000.00 13 10,000.00
12 พ.ค. 66 ค่าเดินทางเปิดบัญชีโครงการ 0 480.00 480.00
6 - 7 มิ.ย. 66 อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 3 480.00 480.00
14 ก.ค. 66 ค่าจัดทำปั๊มตรายางโครงการ 0 500.00 500.00
23 ส.ค. 66 ค่าจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ 0 1,070.00 1,070.00
11 ก.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพธ์ 0 900.00 900.00
12 ก.ย. 66 ค่าเดินทางเบิกเงินธนาคาร ครั้งที่ 1 0 480.00 480.00
25 ก.ย. 66 ARE แผนงานร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่ 1 0 480.00 480.00
21 ต.ค. 66 ค่าเดินทางเบิกเงินธนาคาร ครั้งที่ 2 0 480.00 480.00
15 ธ.ค. 66 ค่าเดินทางเบิกเงินธนาคาร ครั้งที่ 3 0 480.00 480.00
8 ม.ค. 67 ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 0 2,000.00 2,000.00
15 ม.ค. 67 ค่าไวนิลนำเสนอผลงาน 0 1,200.00 1,200.00
15 ม.ค. 67 ARE แผนงานร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่ 2 6 970.00 970.00
16 ม.ค. 67 ค่าเดินทางตรวจเอกสารโครงการ 3 480.00 480.00
3 ARE พี่เลี้ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 4 0.00
3 ก.ค. 66 ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี่ยง 0 0.00 0.00
7 ส.ค. 66 ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี่้ยง 0 0.00 0.00
17 ต.ค. 66 ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี่ยง 0 0.00 0.00
22 ธ.ค. 66 ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี่ยง 0 0.00 0.00
4 จัดเวทีประชาคม ร่วมกำหนดกติกา/ข้อตกลง เพื่อการลด ละ เลิก บุหรี่/ยาสูบ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 55 15,400.00 2 15,400.00
24 ต.ค. 66 จัดเวทีประชาคม ร่วมกำหนดกติกา/ข้อตกลง เพื่อการลด ละ เลิก บุหรี่/ยาสูบ 1 55 7,700.00 7,700.00
16 พ.ย. 66 จัดเวทีประชาคม ร่วมกำหนดกติกา/ข้อตกลง เพื่อการลด ละ เลิก บุหรี่/ยาสูบ 2 0 7,700.00 7,700.00
5 อมรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 30 11,400.00 2 11,400.00
14 ก.ย. 66 อมรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน 1 30 6,150.00 6,150.00
15 ก.ย. 66 อมรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน 2 0 5,250.00 5,250.00
6 กิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 35 14,700.00 3 14,700.00
26 ต.ค. 66 กิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ 1 35 5,100.00 5,100.00
18 ธ.ค. 66 กิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ 2 0 4,800.00 4,800.00
5 ม.ค. 67 กิจกรรมช่วยเลิกบุหรี่ 3 0 4,800.00 4,800.00
7 อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเรื่องโทษพิษภัยบุหรี่/ยาสูบ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 70 18,000.00 1 18,000.00
16 ต.ค. 66 อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการเรื่องโทษพิษภัยบุหรี่/ยาสูบ 70 18,000.00 18,000.00
8 เดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ชุมชนปลอดบุหรี่ ตามร้านค้า บ้านเรือนในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 14,000.00 1 14,000.00
20 ธ.ค. 66 เดินรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ชุมชนปลอดบุหรี่ ตามร้านค้า บ้านเรือนในชุมชน 100 14,000.00 14,000.00
9 เวทีถอดบทเรียน พร้อมสรุปผลดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 7,350.00 1 7,350.00
8 ม.ค. 67 เวทีถอดบทเรียน พร้อมสรุปผลดำเนินงาน 50 7,350.00 7,350.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 2 583.55
26 ม.ค. 67 ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ 0 0.00 83.55
1 ก.พ. 67 ถอนเงินเพื่อคืนค่าเปิดบัญชี 0 0.00 500.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ระบุผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินโครงการ
2.เมื่อโครงการแล้วเสร็จ หรือเมื่อทุนของ สสส. หมดลง จะมีการดำเนินการต่อเนื่องหรือไม่ อย่างไร
3.ระบุวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการ และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการนี้อย่างไร

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2566 14:47 น.