assignment
บันทึกกิจกรรม
จัดทำรายงานและบันทึกข้อมูลเพื่อรายงานความก้าวหน้าโครงการ31 มกราคม 2567
31
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการ จำนวน 13 คน ที่ปรึกษาโครงการ จำนวน 2 คน ได้ร่วมกันรวบรวมเอกสารข้อมูลต่างๆของโครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา ตั้งแต่เริ่มต้นโครงการและมีมติมอบหมายให้นางสาวคอลีเยาะ  ตะโละ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลโครงการจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าของโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา ได้่ดำเนินการจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าของโครงการตั้ทงแต่เริ่มโครงการจนสิ้นสุดโครงการ จำนวน 1 ชุด

ถอนเงินเปิดบัญชี25 มกราคม 2567
25
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nit07112
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนเงินเปิดบัญชี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินเปิดบัญชี

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ24 มกราคม 2567
24
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย nit07112
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนดอกเบี้ยคืนแผนงานร่วมทุนฯ

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 2/256715 มกราคม 2567
15
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 2/2567 ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 8:30 - 9:00 น ลงทะเบียนจัดบูธนิทรรศการ
9:00 - 9:30 น เวทีเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยตัวแทนจากประเด็นกลุ่มย่อยของโครงการย่อย โดย นางกัลยา เอี่ยวสกุล 9:30 - 10:00 น พิธีเปิดการอบรมและชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย are ครั้งที่ 2/2567 โดยนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี 10.40 - 12:00 น ทบทวนการดำเนินงานโครงการที่ขอรับการสนับสนุนทุนจากแผนงานร่วมทุน 13.00 - 15.00 คุณค่าและเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนทุนจากแผนงานร่วมทุน 15.10 - 16:30 น กิจกรรม World Cafe แลกเปลี่ยนวงใหญ่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 2/2567 โดยมีผู้เข้าร่วม จำนวน 15 คน ได้แก่ 1.ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการ จำนวน 6 คน 2.ที่ปรึกษาโครงการ จำนวน 2 คน 3.ผู้รับผิดชอบโครงการได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำเสนอใน กิจกรรม World Cafe แลกเปลี่ยนวงใหญ่ และร่วมจัดบูธนิทรรศการ พร้อมจัดทำไวนิลโครงการขนาด 180x8 ซม. ชนิด X แสตนด์ จำนวน 2 ป้าย

ARE 4 ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา11 มกราคม 2567
11
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดเมื่อวันที่ 11 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ผู้เข้าร่วม จำนวน 8 คน ประกอบด้วยผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ บันทึกข้อมูลโครงการ คณะทำงานโครงการ เริ่มลงทะเบียนตั้งแต่เวลา 08.30 น. 09.00 น. เริ่มกระบวนการเวที ARE โดย -ผู้รับผิดชอบกล่าวต้อนรับและแนะนำผู้เข้าร่วม -พี่เลี้ยง นางสาวคนึงนิจ มากชูชิต ชี้แจงวัตถุประสงค์และกระบวนการประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา(ARE)
-พี่่เลี้ยงชวนชวนพื้นที่ให้จัดบทบาทหน้าทีทีมงานในการ ARE (ใครนำ ใครจดบันทึก ใครเขียนบนกระดาษ) อธิบายขั้นตอนและกระบวนการ ARE และทบทวนบันไดผลผลัพธ์/กำหนดประเด็นการติดตาม ผู้รับผิดชอบโครงการฯและทีมงานโครงการฯ นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการฯที่ผ่านมา ปัญหา/อุปสรรค โดยชุมชนได้ดำเนินกิจกรรมครบทุกกิจกรรม
ช่วงสุดท้าย พี่เลี้ยงนำกระบวนการให้เกิดการแลกเปลี่ยนและร่วมกันสะท้อนผลลัพธ์ตัวชี้วัดการดำเนินงานโครงการฯ โดย ให้ผู้เข้าร่วมได้ร่วมกันประเมินผลการดำเนินงานที่ผ่านมาในแต่ละด้าน และดูเอกสารการเงิน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดกฎเกณฑ์การคัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ 1.การดูแลของครอบครัว การกินยา การติดตามการนัดหมอ กิจวัตประจำวัน 2.ความรู้ความเข้าใจและทักษะการสังเกตอาการ การประสานทีมงาน ของครอบครัวในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช 3.ดูจากพฤติกรรม และการเข้าสู่ ชุมชน/สังคม 4.สิงแวดล้อม ในบ้านที่เอื้อต่อผู้ป่วยจิตเวช เกิดครอบครัวต้นแบบในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชระดับตำบล จำนวน 5 ครอบครัว..ได้แก่.. 1.นายแวอาดนัน  โตะมะ
2.นายอับดุลเราะห์มาน  มูซอดี
3.นายนิอิบรอเฮง  เจ๊ะเละ
4.นายอิสมาแอ  เจ๊ะอุบง
5.นางสาวฟาอีซะห์  มาหิเละ เกิดทีมอาสาในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา .....เกิดทีมอาสาในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา ที่ได้รับการอบรมและมีความรู้ความเข้าใจมีทักษะในการดูแลผู้ป่วย จำนวน 40 คน... ผู้ป่วยจิตเวช จำนวน..63..คน ร้อยละ…100.. ได้รับการดูแลจากครอบครัว
ผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 63 คน ร้อยละ..100... ได้รับการติดตามและได้รับยาอย่างต่อเนื่อง
....ผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 41 คน ร้อยละ..65..... ได้รับการดูแลจากครอบครัว อาสาฯ ควบคุมตัวเองได้ .....ผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 18 คน ร้อยละ...28..... เข้ารับการรักษาต่อเนื่อง และได้รับการดูแลจากครอบครัว อาสาฯอย่างดี และต่อเนื่อง ...ผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 5 คน ร้อยละ...7.9....ดูแลตัวเองได้

เวทีสรุปบทเรียนการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา5 มกราคม 2567
5
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ กิจกรรมเวทีสรุปบทเรียนการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา ตำบล สะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 5 เดือน มกราคม พ.ศ. 2567 ณ อาคารรอเนกประสงค์ อบต.สะดาวา

08.30 – 09.00 น.    ลงทะเบียน 09.00 – 09.30 น. กล่าวพบปะผู้เข้าร่วมกิจกรรม สถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา
รายงานความก้าวหน้าโครงการ 09.30 – 10.00 น. รายงานผลกิจกรรมประกวดครัวเรือนต้นแบบในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช 10.00 – 12.00 น. เวทีสรุปบทเรียนการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา โดยคณะทำงานโครงการ 12.00 – 13.00 น.      รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.00 น. เวทีสรุปบทเรียนการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา โดยคณะทำงานโครงการ 15.00 – 15.30 น. สรุปผลการอบรม


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 10.45 น./14.30 – 14.45 น.   รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น.   กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดกลไกทำงานระดับตำบล จำนวน 13 คน ประกอบด้วยตัวแทน จากแต่ละชุมชน ชุมชนละ 1 คน ทั้งหมดชุมชน 8 คน เจ้าหน้าที่ รพ.สต  ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำศาสนา  สมาชิกอบต.  หัวหน้ากู้ชีพกู้ภัย และทีมที่ปรึกษา จำนวน 5 คน ประกอบด้วย ปลักอำเภอ ผบ.ร้อย ผอ. รพ.สต  นายก อบต. ทีมหมอ รพ.สต ยะรัง มีกติการ่วม 5 ข้อ 2.ข้อมูลและคืนข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวชในระดับตำบลให้ชุมชนและสามารถนำมาใช้ในการทำงาน จำนวน 1 ชุด เช่น อาการซึมเศร้า/ เครียด/ปลีกตัวจากสังคม จำนวน 56 คน/ก้าวร้าว/อาละวาด 2 คน/หลอน หวาดระแวง 5 คน รวม 63 คน 3.ได้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา 40 คน มีความรู้ความสามารถและทักษะในการีดูแลผู้ป่วยจิตเวช 4.เกิดครอบครัวต้นแบบในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชระดับตำบล จำนวน 5 ครอบครัว..ได้แก่.. 4.1.นายแวอาดนัน  โตะมะ
4.2.นายอับดุลเราะห์มาน  มูซอดี
4.3.นายนิอิบรอเฮง  เจ๊ะเละ
4.4.นายอิสมาแอ  เจ๊ะอุบง
4.5.นางสาวฟาอีซะห์  มาหิเละ 5.ผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 63 คน ได้เข้าสู่ระบบการรักษา ได้รับการดูแล เยี่ยมเยียน ติดตามอาการและการใช้ยาอย่างต่อเนื่องจากทีมอาสาและคริบครัว 6.เกิดศูนย์ดูแลผู้ป่วยจิตเวชระดับตำบล จำนวน 1 ศูนย์ กิจกรรมที่จะดำเนินการต่อ 1.การจัดตั้งศูนย์ดูแลผู้ป่วยจิตเวชระดับตำบลเต็มรูปแบบ 2.การพัฒนาศักยภาพอาสาและผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา 3.การพัฒนาคุณภาพชีวิตครอบครัวผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา

ฝากถอนเงินในบัญชีโครงการ 42 มกราคม 2567
2
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการนายแวนารง แปเฮาะอีเล นางสาววรรณหัสนะห์  หะยีและนางสาวคอลีเยาะ  ตะโละ เจ้าหน้าที่โครงการที่มีอำนาจลงนามฝากถอนเงิน จำนวน 3 คน เดินทางออกจากพื้นที่ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ด้วยรถยนต์ส่วนตัว เวลา 09.00 น ไปธนาคารกรุงไทยยะรังเพื่อเบิกถอนเงิน จำนวน 35,000 บาท และกลับเข้าสู่พื้นที่ เวลา 14.30 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการนายแวนารง แปเฮาะอีเล นางสาววรรณหัสนะห์  หะยีและนางสาวคอลีเยาะ  ตะโละ เจ้าหน้าที่โครงการที่มีอำนาจลงนามฝากถอนเงิน จำนวน 3 คน ได้เบิกถอนเงินจากบัญชีโครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา จำนวน 35,000 บาท

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 52 มกราคม 2567
2
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 5
ตำบล สะดาวา  อำเภอยะรัง  จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 2 เดือน มกราคม พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา

08.30 – 09.00 น.       ลงทะเบียน
09.00 – 10.00 น. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการตามบันไดผลลัพธ์ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 10.00 – 11.00 น. รายงานผลการดำเนินการเอกสารการเงินโครงการ โดยการเงินโครงการ 11.00 – 12.00 น. รายงานผลการบันทึกกิจกรรมโครงการลงในระบบ โดยเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 12.00 – 13.00 น.           รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 15.30 น. วางแผนและมอบหมายงานเตรียมความพร้อมกิจกรรมเวทีสรุปบทเรียนการดูแลผู้ป่วย
จิตเวชในตำบลสะดาวา กิจกรรม ARE 4 และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์  โครงการย่อย ARE ครั้ง2 15 มกราคม 2567 15.30 – 16.00 น. สรุปผลการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 5


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 10.45 น./14.30 – 14.45 น.     รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น.     กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ได้รายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการตามบันไดผลลัพธ์
2.ได้รายงานผลการดำเนินการเอกสารการเงินโครงการ 3.ได้รายงานผลการบันทึกกิจกรรมโครงการลงในระบบ 4.ได้วางแผนและมอบหมายงานเตรียมความพร้อมกิจกรรมเวทีสรุปบทเรียนการดูแลผู้ป่วย จิตเวชในตำบลสะดาวา กิจกรรม ARE 4 และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์  โครงการย่อย ARE ครั้ง2 15 มกราคม 2567

ประกวดครัวเรือนต้นแบบในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช18 ธันวาคม 2566
18
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ กิจกรรมประกวดครัวเรือนต้นแบบในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช ตำบล สะดาวา  อำเภอยะรัง  จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 18 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.สะดาวา

08.30 – 09.00 น.       ลงทะเบียน 09.00 – 09.30 น. กล่าวพบปะผู้เข้าร่วมกิจกรรม ความเป็นมาของโครงการ สถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวช     ในตำบลสะดาวา รายงานความก้าวหน้าโครงการ 09.30 – 12.00 น. ประชุมชี้แจงรายละเอียดผลกิจกรรมประกวดครัวเรือนต้นแบบในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 12.00 – 13.00 น.           รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 15.30 น. กิจกรรมเยี่ยมสานสัมพันธ์ครอบครัวผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน 15.30 – 16.00 น. สรุปผลการอบรม


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 10.45 น./14.30 – 14.45 น.     รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น.     กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดครอบครัวต้นแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 5 ครอบครัว ได้แก่ 1.นายแวอาดนัน  โตะมะ  หมู่ที่ 1 2.นายอับดุลเราะห์มาน  มูซอดี หมู่ที่ 3 3.นายนิอิบรอเฮง  เจ๊ะเละ  หมู่ที่ 4 4.นายอิสมาแอ  เจ๊ะอุบง หมู่ที่ 5 5.นางสาวฟาอีซะห์  มาหิเละ หมู่ที่ 7

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 415 ธันวาคม 2566
15
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 4
ตำบล สะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 15 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา

08.30 – 09.00 น.    ลงทะเบียน
09.00 – 10.00 น. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการตามบันไดผลลัพธ์ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 10.00 – 11.00 น. รายงานผลการดำเนินการเอกสารการเงินโครงการ โดยการเงินโครงการ 11.00 – 12.00 น. รายงานผลการบันทึกกิจกรรมโครงการลงในระบบ โดยเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 12.00 – 13.00 น.      รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.30 น. วางแผนและมอบหมายงานเตรียมความพร้อมกิจกรรมประกวดครัวเรือนต้นแบบการ               ดูแลผู้ป่วยจิตเวช และกิจกรรมเวทีสรุปบทเรียนโครงการ 15.30 – 16.00 น. สรุปผลการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 4


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 10.45 น./14.30 – 14.45 น.   รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น.   กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.รายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการตามบันไดผลลัพธ์ โดยผู้รับผิดชอบโครงการเป็นไปตามแผนงานโครงการ 2.รายงานผลการดำเนินการเอกสารการเงินโครงการ โดยการเงินโครงการ เป็นไปตามแผนงานโครงการ 3.รายงานผลการบันทึกกิจกรรมโครงการลงในระบบ โดยเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เป็นไปตามแผนงานโครงการ 4.ได้วางแผนและมอบหมายงานเตรียมความพร้อมกิจกรรมประกวดครัวเรือนต้นแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และกิจกรรมเวทีสรุปบทเรียนโครงการ

ARE 3 ติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา20 พฤศจิกายน 2566
20
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

-พี่เลี้ยงโครงการได้มาติดตามผลลัพธ์โครงการตามบันไดผลลัพธ์ 4 ขั้น โดยมีคณะทำงานโครงการ 10 คน เข้าร่วมติดตามโครงการและร่วมตอบข้อซักถามให้พี่เลี้ยงโครงการ -พี่เลี้ยงโครงการได้ติดตามผลการบันทึกข้อมูลกิจกรรมในระบบให้เป็นปัจจุบัน -พี่เลี้ยงโครงการได้ตรวจเอกสารทางการเงินโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-โครงการได้ดำเนินกิจกรรมเป็นไปตามตัวชี้วัดในบันไดผลลัพธ์ 4 ขั้น เกิดตัวชี้วัดในบันไดผลลัพธ์แล้ว 3 บันได คือบันได ขั้นที่ 1 แกนนำมีความรู้ความสามารถในการดูแลผู้ป่วย บันไดขั้นที่ 2 เกิดกลไกในการดูแลผู้ป่วยจิตเวชติดตามอย่างต่อเนื่อง และบันไดขั้นที่ 4 เกิดทีมอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา ส่วนบันไดที่ยังไม่เกิดคือ บันไดขั้นที่ 3 ครัวเรือนต้นแบบในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช -การบันทึกข้อมูลในระบบยังไม่เป็นปัจจุบัน -เอกสารงานเงินโครงการยังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์

กิจกรรมสานสัมพันธ์สายใยครอบครัวและชุมชน19 พฤศจิกายน 2566
19
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ กิจกรรมสานสัมพันธ์สายใยครอบครัวและชุมชน ตำบล สะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 19 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา

08.30 – 09.00 น.    ลงทะเบียน 09.00 – 09.30 น. กล่าวพบปะผู้เข้าร่วมกิจกรรม ความเป็นมาของโครงการ สถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวช ในตำบลสะดาวา รายงานความก้าวหน้า 09.30 – 12.00 น. กระบวนการสานสัมพันธ์สายใยครอบครัวผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน โดยผู้รับผิดชอบโครงการและ วิทยากร นางสาวแวซำซียะ ปารามัล 12.00 – 13.00 น.      รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.30 น. กิจกรรมเยี่ยมสานสัมพันธ์ผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน 15.30 – 16.00 น. สรุปผลการอบรม


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 10.45 น./14.30 – 14.45 น.   รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น.   กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดกิจกรรมสานสัมพันธ์สายใยครอบครัวและชุมชน จำนวน 1 ครั้ง มีผู้เข้าร่วม จำนวน 80 คน ได้แก่ คณะทำงานโครงการ จำนวน 13 คน แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 40 คน ผู้ดูแลครอบครัวผู้ป่วยจิตเวช 27 คน 2.เกิดกระบวนการสานสัมพันธ์สายใยครอบครัวผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน โดยผู้รับผิดชอบโครงการและ วิทยากร นางสาวแวซำซียะ  ปารามัล 3.เกิดกิจกรรมเยี่ยมสานสัมพันธ์ผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน จำนวน 10 ครัวเรือน

เวทีติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา17 พฤศจิกายน 2566
17
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ กิจกรรมเวทีติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา ตำบล สะดาวา  อำเภอยะรัง  จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 17 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา

08.30 – 09.00 น.       ลงทะเบียน 09.00 – 09.30 น. กล่าวพบปะผู้เข้าร่วมกิจกรรม สถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา
09.15 – 12.00 น. กระบวนการกลุ่มติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา         โดยผู้รับผิดชอบโครงการและ วิทยากร นางสาวแวซำซียะ  ปารามัล 12.00 – 13.00 น.         รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.30 น. กระบวนการติดตามการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนและนำเสนอโดยผู้นำชุมชน โดยวิทยากรนางสาวแวซำซียะ  ปารามัล 15.30 – 16.00 น. สรุปผลการอบรม


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 10.45 น./14.30 – 14.45 น.     รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น.     กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.เกิดกิจกรรมเวทีติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา จำนวน 1 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 53 คน ได้แก่ คณะทำงานโครงการ 13 คน แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา 40 คน 2.เกิดเวทีติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา จำนวน 1 เวที 8 กลุ่ม แบ่งวตามหมู่บ้าน 8 หมู่บ้าน โดยมี น.ส.แวซำซียะ  ปารามัล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการเป็นวิทยากร กระบวนการกลุ่ม 3.เกิดกระบวนการกลุ่มติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา จำนวน 8 กลุ่ม แยกตามหมู่บ้าน

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 316 พฤศจิกายน 2566
16
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ กิจกรรม ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 3
ตำบล สะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 16 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา 08.30 – 09.00 น.    ลงทะเบียน
09.00 – 10.00 น. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการตามบันไดผลลัพธ์ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 10.00 – 11.00 น. รายงานผลการดำเนินการเอกสารการเงินโรครงการ โดยการเงินโครงการ 11.00 – 12.00 น. รายงานผลการบันทึกกิจกรรมโครงการลงในระบบ โดยเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 12.00 – 13.00 น.      รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.30 น. วางแผนและมอบหมายงานเตรียมความพร้อมกิจกรรมเวทีติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา กิจกรรมสานสัมพันธ์สายใยครอบครัว และชุมชน และกิจกรรม ARE 3 15.30 – 16.00 น. สรุปผลการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 10.45 น./14.30 – 14.45 น.   รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น.   กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้มีการประชุมคณะทำงาน จนำนวน 1 ครั้ง มีคณะทำงานโครงการเข้าร่วมการประชุม จำนวน 13 คน โดยมีกิจกรรมดังนี้ 1.ได้มีการรายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการตามบันไดผลลัพธ์ โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 2.ได้มีการรายงานผลการดำเนินการเอกสารการเงินโรครงการ โดยการเงินโครงการ 3.ได้มีการรายงานผลการบันทึกกิจกรรมโครงการลงในระบบ โดยเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 4.ได้ร่วมวางแผนและมอบหมายงานเตรียมความพร้อมกิจกรรมเวทีติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา กิจกรรมสานสัมพันธ์สายใยครอบครัวและชุมชน และกิจกรรม ARE 3 5.ได้ข้อสรุปผลการประชุมคณะทำงานครั้งที่ 3

เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้ง1/256625 กันยายน 2566
25
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการอบรม เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 ในวันที่ 25 กันยายน 2566
ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ……………………………… วันที่  25 กันยายน 2566
08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 09.30 น. เวทีเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยตัวแทนจากประเด็นกลุ่มย่อยของโครงการย่อย โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และนายมุคตาร  วายา  ผู้ช่วยวิทยากร 09.30 - 10.00 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 โดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการบริหารแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) กล่าวรายงาน โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข 10.00 - 10.30 น. ช่วงที่ 1 ในหัวข้อ "ทบทวนการดำเนินงานแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา
ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 10.30 - 10.40 น. รับประทานอาหารว่าง 10.40 – 12.00 น. ช่วงที่ 2 “ประเมินผลการดำเนินงาน 3 มิติ”           2.1 แบ่งกลุ่ม ตามโครงการย่อย เพื่อประเมินผลการดำเนินงานใน 3 มิติ
                  ได้แก่ 1.กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน 2. กลไกพี่เลี้ยง                   3. ผลลัพธ์โครงการย่อย             2.2  นำเสนอผลการประเมินตนเองของโครงการย่อย (วงใหญ่  40 นาที) โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
                  กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
                  กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ                   กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ                   กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง                   กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา                   กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช                   กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร                   กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค                   กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต                   กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ                   กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง                   กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
                  กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ                   กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี /รับประทาน... - 2 -

12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารเที่ยง 13.00 – 15.00 น. ช่วงที่ 3 ประเด็นโครงการย่อยกับผลลัพธ์สุด WOW !!!           3.1 แบ่งกลุ่มตามโครงการย่อยเพื่อทบทวนการดำเนินงานในประเด็นดังนี้
              - ประเด็นการดำเนินงาน (จำนวน/พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย)               - ผลลัพธ์ (Outcome) ในแต่ละประเด็น               - ความคืบหน้าโครงการย่อยตามบันไดผลลัพธ์กลาง               - สรุปปัจจัยสำคัญ เงื่อนไข ปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ไม่
                ควรเกิดขึ้นพร้อมค้นหาความเสี่ยงต่อการล้มเหลวของ
                โครงการย่อย และข้อเสนอแนะ 3.2 กิจกรรม World Café แลกเปลี่ยนวงใหญ่ (โครงละ 5 นาที) โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
                  กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
                  กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ                   กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ                   กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง                   กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา                   กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช                   กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร                   กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค                   กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต                   กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ                   กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง                   กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
                  กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ                   กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี 15.00 – 15.10 น. รับประทานอาหารว่าง 15.10 - 17.20 น. ช่วงที่ 4  ผู้เข้าร่วมอบรมร่วมแลกเปลี่ยนในวงใหญ่ และสรุปความเชื่อมโยง (กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน/กลไกพี่เลี้ยง/โครงการย่อย) โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร

 <br />



หมายเหตุ  : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ คณะทำงานด้านการบันทึกข้อมูลในระบบได้ร่วมเวทีเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยตัวแทนจากประเด็นกลุ่มย่อยของโครงการย่อย
2.ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ คณะทำงานด้านการบันทึกข้อมูลในระบบได้ร่วมกิจกรรมประเมินผลการดำเนินงาน 3 มิติ ได้แก่ 1.กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน 2. กลไกพี่เลี้ยง 3. ผลลัพธ์โครงการย่อย 3.ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ คณะทำงานด้านการบันทึกข้อมูลในระบบได้ร่วมนำเสนอผลการประเมินตนเองของโครงการย่อย 4.ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ คณะทำงานด้านการบันทึกข้อมูลในระบบได้ร่วมนำเสนอในประเด็นโครงการย่อยกับผลลัพธ์สุด WOW เพื่อนำเสนอในประเด็น - ประเด็นการดำเนินงาน (จำนวน/พื้นที่/กลุ่มเป้าหมาย)               - ผลลัพธ์ (Outcome) ในแต่ละประเด็น               - ความคืบหน้าโครงการย่อยตามบันไดผลลัพธ์กลาง               - สรุปปัจจัยสำคัญ เงื่อนไข ปัญหาอุปสรรค สิ่งที่ควรทำ สิ่งที่ไม่
                ควรเกิดขึ้นพร้อมค้นหาความเสี่ยงต่อการล้มเหลวของ
                โครงการย่อย และข้อเสนอแนะ 5.ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ คณะทำงานด้านการบันทึกข้อมูลในระบบได้ร่วมในกิจกรรม World Café แลกเปลี่ยนวงใหญ่ 6.ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ คณะทำงานด้านการบันทึกข้อมูลในระบบได้ร่วมร่วมแลกเปลี่ยนในวงใหญ่ และสรุปความเชื่อมโยง (กลไกการบริหารแผนงานร่วมทุน/กลไกพี่เลี้ยง/โครงการย่อย)

เตรียมความพร้อมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้ง1/256624 กันยายน 2566
24
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลโครงการ เข้าร่วมเตรียมความพร้อมในกิจกรรมอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้ง1/2566 โดยมีพี่เลี้ยงโครงการนางคนึงนิจ  มากชูชิต มาร่วมเป็นพี่เลี้ยงเตรียมความพร้อมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่การบันทึกข้อมูล การบันทึกเอกสารการเงิน และรายละเอียดกิจกรรมสต่างๆที่ได้ดำเนินการแล้วตามบันไดผลลัพธืของโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการ การเงินโครงการ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลโครงการ สามารถเตรียมความพร้อมด้านข้อมูลต่างๆเพื่อใช้เป็นวข้อมูลในกิจกรรมอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้ง1/2566 ด้วยการเตรียมความพร้อมทั้ง 3 ด้าน ได้แก่การบันทึกข้อมูล การบันทึกเอกสารการเงิน และรายละเอียดกิจกรรมสต่างๆที่ได้ดำเนินการแล้วตามบันไดผลลัพธืของโครงการ

เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวชและให้ความรู้เบื่องต้นกับผู้นำในตำบลสะดาวา22 กันยายน 2566
22
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการ กิจกรรมเวทีคืนข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวชและให้ความรู้เบื่องต้นกับผู้นำในตำบลสะดาวา ตำบล สะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 22 เดือน กันยายน พ.ศ. 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา

08.30 – 09.00 น.    ลงทะเบียน 09.00 – 09.30 น. กล่าวพบปะผู้เข้าร่วมกิจกรรม สถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา
09.15 – 12.00 น. เวทีคืนข้อมูลสถานการณ์ผู้ป่วยจิตเวชและให้ความรู้เบื่องต้นกับผู้นำในตำบลสะดาวา โดยผู้รับผิดชอบโครงการ 12.00 – 13.00 น.      รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.30 น. กระบวนการกลุ่มสะท้อนข้อมูลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนและนำเสนอโดยผู้นำชุมชน 15.30 – 16.00 น. สรุปผลการอบรม


หมายเหตุ : รับประทานอาหารว่าง 10.30 – 10.45 น./14.30 – 14.45 น.   รับประทานอาหารกลางวัน 12.00 – 13.00 น.   กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ผู้นำในตำบลสะดาวา จำนวน 40 คน ได้ร่วมรับทราบข้อมูลภาพจำนวนผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา  ทั้ง 63 คน
2.ผู้นำในตำบลสะดาวา จำนวน 40 คน ได้ร่วมรับทราบข้อมูลเบื้องต้นของผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา ทั้ง 63 คน 3.ผู้นำในตำบลสะดาวา จำนวน 40 คน ได้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรีู้และร่วมนำเสนอรูปแบบการดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา  จำนวน 63 คน

ถอนเงินในบัญชีโครงการ 321 กันยายน 2566
21
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการนายแวนารง แปเฮาะอีเล นางสาววรรณหัสนะห์  หะยีและนางสาวคอลีเยาะ  ตะโละ เจ้าหน้าที่โครงการที่มีอำนาจลงนามฝากถอนเงิน จำนวน 3 คน เดินทางออกจากพื้นที่ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ด้วยรถยนต์ส่วนตัว เวลา 09.00 น ไปธนาคารกรุงไทยยะรังเพื่อเบิกถอนเงิน จำนวน 15,000 บาท และกลับเข้าสู่พื้นที่ เวลา 14.30 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการนายแวนารง แปเฮาะอีเล นางสาววรรณหัสนะห์  หะยีและนางสาวคอลีเยาะ  ตะโละ เจ้าหน้าที่โครงการที่มีอำนาจลงนามฝากถอนเงิน จำนวน 3 คน ได้เบิกถอนเงินจากบัญชีโครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา จำนวน 15,000 บาท

อบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา 40 คน7 กันยายน 2566
7
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กิจกรรม กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในตำบลสะดาวา ตำบล สะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัด ปัตตานี ภายใต้โครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา วันที่ 7 เดือน กันยายน พ.ศ. 2566 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะดาวา

08.30 – 09.00 น.    ลงทะเบียน
09.00 – 09.15 น. พิธีเปิด โครงการ/กิจกรรม โครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา 09.15 – 12.00 น. การบรรยาย หัวข้อ “กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่แกนนำ
                    อาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในตำบลสะดาวา”โดยวิทยากร นายแพทย์มูหาหมัดอาลี กระโด 12.00 – 13.00 น.    รับประทานอาหารเที่ยง
13.00 – 15.30 น. กระบวนการกลุ่มทีมจิตอาสารวบรวมข้อมูลผู้ป่วยและนำเสนอเป็นรายหมู่ 15.30 – 16.00 น. สรุปผลการอบรม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.การบรรยาย หัวข้อ “กิจกรรมอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความเข้าใจให้แก่แกนนำ อาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวช ในตำบลสะดาวา”โดยวิทยากร นายแพทย์มูหาหมัดอาลี กระโด ทำให้้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชและคณะทำงานโครงการ จำนวน 53 คน มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลผู้ป่วยจิตเวช แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชมีข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่รับผิดชอบ 2.วิทยากรโดยนายแพทย์มูหาหมัดอาลี กระโด ได้ดำเนินกระบวนการกลุ่มทีมจิตอาสารวบรวมข้อมูลผู้ป่วยและนำเสนอเป็นรายหมู่ โดยใช้กระบวนการ Body Design เพื่อให้แกนนำอาสาได้ร่วมเรียนรู้ร่วมวืเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และปัญหาอุปสรรคของชุมชนที่เกี่ยวกับผู้ป่วยจิตเวช แล้วให้แกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชร่วมนำเสนอในพื้นท่ี่แต่ละหมู่บ้านที่ตนเองรับผิดชอบ

จัดทำป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์5 กันยายน 2566
5
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดจ้างร้านจัดทำบันไดผลลัพธ์ ขนาด 1.5 x 2 เมตร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ป้ายบันไดผลลัพธ์ขนาด 1.5 x 2 เมตร จำนวน 1 ป้าย

ถอนเงินในบัญชีโครงการ 24 กันยายน 2566
4
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการนายแวนารง แปเฮาะอีเล นางสาววรรณหัสนะห์  หะยีและนางสาวคอลีเยาะ  ตะโละ เจ้าหน้าที่โครงการที่มีอำนาจลงนามฝากถอนเงิน จำนวน 3 คน เดินทางออกจากพื้นที่ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ด้วยรถยนต์ส่วนตัว เวลา 09.00 น ไปธนาคารกรุงไทยยะรังเพื่อเบิกถอนเงิน จำนวน 29,620 บาท และกลับเข้าสู่พื้นที่ เวลา 14.30 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการนายแวนารง แปเฮาะอีเล นางสาววรรณหัสนะห์  หะยีและนางสาวคอลีเยาะ  ตะโละ เจ้าหน้าที่โครงการที่มีอำนาจลงนามฝากถอนเงิน จำนวน 3 คน ได้เบิกถอนเงินจากบัญชีโครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา จำนวน 29,620 บาท

จัดซื้อตรายางโครงการ3 กันยายน 2566
3
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินการจัดซื้อตรายางโครงการเพื่อใช้ในกิจกรรมต่างๆของโครงการ จำนวน 1 ชุด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้รับตรายางโครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา จำนวน 1 ชุด

ARE 2 พี่เลี้ยงติดตามผลลัพธ์โครงการ2 กันยายน 2566
2
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

พี่เลี้ยงโครงการได้เข้าร่วมกิจกรรมการประเมินโครงการเพื่อดูความก้าวหน้าของโครงการตามวัตถุประสงค์และบันไดผลลัพธ์ของโครงการ และติดตามผลการดำเนินโครงการตามกิจกรรมต่างๆว่าเป็นไปตามแผนงานโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการและคณะทำงานโครงการได้นำเสนอผลการดำเนินกิจกรรมต่างๆของโครงการผลเป็นไปตามแผนงานโครงการ โครงการได้ดำเนินกิจกรรมต่างตามแผนงาน จำนวน 7 กิจกรรม ใน 22 กิจกรรม

คณะทำงานลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลชุมชนและเก็บข้อมูลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนร่วมกับแกนนำอาสา19 สิงหาคม 2566
19
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานร่วมกับแกนนำอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชดำเนินการลงพื้นที่เพื่อศึกษาข้อมูลต่างของชุมชนและเก็บข้อมูลเชิงลึกของผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 2 ครั้ง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานร่วมกับแกนนำอาสาสมัครดูแลผู้ป่วยจิตเวชได้ลงพื้นที่และได้รับข้อมูลต่างของชุมชนและข้อมูลเชิงลึกของผู้ป่วยจิตเวช

ประชาสัมพันธ์โครงการลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลในชุมชน รับสมัครแกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา จำนวน 40 คน ทำกติกาชุมชน ประกาศรับสมัครแกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา จำนวน 4018 สิงหาคม 2566
18
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ดำเนินการประชาสัมพันธ์ ประกาศรับสมัครแกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในตำบลสะดาวา จำนวน 40 คน จัดทำป้ายและใบปลิว ดำเนินการประชาสัมพันธ์รับสมัคร ชี้แจงทำความเข้าใจกับชุมชน ทำกติกาชุมชน คณะทำงานลงพื้นที่ศึกษาข้อมูลและเก็บข้อมูลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนร่วมกับแกนนำอาสา (ก่อนและหลังดำเนินงาน)

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีการประชาสัมพันธ์การรับสมัครแกนนำอาสาดูแลผู้ป่วยจิตเวชในพื้นที่ หมู่ที่ 1 - 8ตำบลสะดาวา จำนวน 40 คน

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 216 สิงหาคม 2566
16
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน จำนวน 13 คน เพื่อเตรียมติดตามแผนงานโครงการและเพื่อออกแบบจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยจิตเวชแต่ละเคส ติดตามการปรับเปลี่ยน ข้อมูลชุมชน และข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

คณะทำงานได้รูปแบบในการดทำข้อมูลเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยจิตเวชแต่ละเคส ติดตามการปรับเปลี่ยน ข้อมูลชุมชน และข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย

ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 13 สิงหาคม 2566
3
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ประชุมคณะทำงาน 13 คน เพื่อชี้แจงและทำความเข้าใจโครงการ รวมถึงแบ่งบทบาทหน้าที่ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13 คน ประชุมตามวาระตามกำหนดการดังนี้

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดคณะทำงานระดับตำบล 13 คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย

จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ โดยมีตราสัญลักษณ์ สสส.1 สิงหาคม 2566
1
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ดำเนินการจัดจ้างร้านเพื่อจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ โดยมีตราสัญลักษณ์ สสส. จำนวน 2 ป้าย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้จัดจ้างร้านเพื่อจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ โดยมีตราสัญลักษณ์ สสส. จำนวน 2 ป้าย

ฝากถอนเงินในบัญชีโครงการ 126 มิถุนายน 2566
26
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการรับเช็คโครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวาจากแผนงงานร่วมทุน จำนวน 80,000 บาท เดินทางจากบ้านพักไปนำฝากเช็ค ที่ธนาคารกรุงไทย สาขายะรัง ออกจากบ้านเวลา 09.00 น. เสร็จธุระ กลับถึงที่บ้านพักเลขที่ 61 ม.3 ต.สะดาวา อ.ยะรัง จ.ปัตตานี เวลา 14.30 น.

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา นายแวนารง แปเฮาะอีเล ได้นำฝากเช็คธนาคารกรุงไทยสาขายะรัง บัญชีโครงการการดูแลผู้ป่วยจิตเวชตำบลสะดาวา จำนวน 80,000 บาท

ปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน6 มิถุนายน 2566
6
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการอบรม เวทีปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ระหว่างวันที่ 6 - 7 มิถุนายน ๒๕๖6
ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ………………………………


วันที่ 6 มิถุนายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ - ๐๙.30 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
๐๙.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.0๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ หวังกุหลำ


กลุ่มที่ 11....

  • 2 –

    กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์ ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์ นวลดี ๑๔.0๐ - ๑๔.15 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.1๕ - ๑6.30 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
    กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร วายา
    กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์ ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์ นวลดี วันที่ 7 มิถุนายน 2566
    ๐8.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” และถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเงิน โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.๓๐ น. รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีความรู้เรื่องการทำรายงานและการออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์ การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน

ARE 1 การประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (คลี่แผนงานโครงการ)5 มิถุนายน 2566
5
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Sadawa2566
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานร่วมประชุมปฏิบัตการเพื่อดำเนินการจัดทำแผนงานโครงการร่วมกับทีมพี่เลี้ยง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทีมงานโครงการได้แผนงานโครงการเพื่อดำเนนินการนตามแผนงานจำนวน 1 แผน 1 โครงการ