directions_run

โครงการผู้สูงวัยใส่ใจสุขภาพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามวิถีอิสลาม ในชุมชนโสร่ง ต.เขาตูม อ.ยะรัง จ.ปัตตานี

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : 1.1 มีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 15 คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนหมู่บ้าน อปท. เป็นต้น 1.2 คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 15 คน มีความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและมีการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสม 1.3 เกิดข้อมูลผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุและอาการพฤติกรรมที่เป็นข้อมูลรายบุคคล จำนวน 60 คน
60.00

 

 

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกาย จิตใจ ตามวิถีอิสลาม
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุออกแบบไว้ 2.2 ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 60 คน ร้อยละ 100 มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น กิจกรรมทางกาย การบริโภคผัก
60.00

 

 

 

3 ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง สามารถทำกิจกรรมได้ตามข้อตกลง และติดตามผลการดำเนินงานของชมรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 3.1 ชมรมผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมหรือดำเนินการตามข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุ 3.2 มีข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทุกคน จำนวน 30 คนรวมทั้งมีการคืนข้อมูลแก่ผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นประจำทุกเดือน
30.00

 

 

 

4 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 4.1 ผู้สูงอายุ ผู้ดูแลผู้สูงอายุ จำนวน 30 คนอย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีกิจกรรมทางกายเป็นประจำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆ ละ 30 นาทีในระยะเวลาโครงการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 6 เดือน 4.2 ผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของกลุ่มเป้าหมาย) มีการบริโภคผักเพิ่มขึ้น
60.00