directions_run

โครงการเสริมสร้างผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีความสุข หมู่ที่ 2 ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีความสุข หมู่ที่ 2 ตำบลบางโกระ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่จังหวัดปัตตานี
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 65-P1-0068-019
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 31 มกราคม 2567
งบประมาณ 99,315.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุตำบลบางโกระ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ร.ต.ปรีชา กาญจนเพชร
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 093-5190526
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ manit.dsm@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางเสาวลักษณ์ ศรเรือง
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.633076,101.437062place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 79,452.00
2 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 19,863.00
รวมงบประมาณ 99,315.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ผู้สูงอายุของตำบลบางโกระ ในปัจจุบัน พบว่ามีจำนวนประชากรทั้งหมด 2,769 คน มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 531 คน (19.18) จากจำนวนผู้สูงอายุเมื่อเทียบสัดส่วนต่อประชากรสูงอายุของตำบลบางโกระมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีอันจะนำมาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรัง และผู้สูงอายุต้องโดดเดี่ยวเนื่องจากบุตรหลานออกไปทำงาน ผู้สูงอายุต้องอยู๋ตามลำพัง สำหรับจำนวนผู้สูงอายุของ หมู่ที่ 2 บ้านบางโกระ มีประชากรทั้งหมด574 คนเป็นผู้สูงอายุทั้งหมด 140 คน คิดเป็นร้อยละ24.39 ติดสังคม จำนวน 139 คนกลุ่มติดบ้าน 1 คน มีโรคประจำตัว จำนวน 67 คน
จากสภาพปัญหา จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าบ้านบางโกระมีผู้อายุมีความเสี่ยงต่อการเกิดเรื้อรัง โรคความดัน เบาหวาน และภาวะซึมเศร้า จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าสาเหตุที่ส่งผลต่อสุขภาพผู้สูงอายุมีดังนี้ ด้านพฤติกรรม พบว่า
--ผู้สูงอายุไม่มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองให้มีความสุขสมวัยของในวัยผู้สูงอายุ
- บริโภคอาหารไม่ถูกหลักขาดความตะหนักในการบริโภคอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพและวัยชอบบริโภคอาหารประเภทแกงกะทิ ทอด หวาน เค็ม
- ผู้สูงอายุสูบบุหรี่ - ผู้สูงอายุดื่มสุรา - ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสม
-ปัญหาด้านจิตใจพบว่าปัญหาการนอนหลับไม่สนิท
-ปัญหาทางด้านการเคลื่อนไหวลำบากจากข้อเข่าเสื่อม - ผู้สูงอายุมีความ เครียด ซึมเศร้า มีโอกาสเป็นโรคทางสุขภาพจิต ด้านความเสื่อมของสมอง ด้านความจำ -ผู้สูงอายุหลงลืมง่าย วางของแล้วหาไม่เจอ เรียกชื่อลูกหลานไม่ถูกต้อง บางครั้งทำกับข้าวลืมปิดแก๊ส
ด้านสังคม พบว่า
- ขาดการรวมกลุ่มที่เป็นรูปธรรมในการทำกิจกรรม
- ผู้สูงอายุรักสนุกชอบมีทำกิจกรรมประเภทสันทนาการ ร้องเพลง เต้นรำ - ผู้สูงอายุไม่มีเวลา-ผู้สูงอายุขาดการเข้าสังคม พบปะ พูดคุยในกลุ่มผู้สูงอายุ เนื่องจากมีภารกิจดูแลหลาน รับผิดชอบงานบ้านให้ - ผู้สูงอายุบางคนอาศัยอยู่บ้านเพียงลำพัง ในช่วงกลางวัน
- ผู้สูงอายุไม่ยอมรับซึงกันและกัน ต่างคนต่างเก่ง ต่างคนต่างดี
- ผู้สูงอายุเข้ากันไม่ได้ แยกกันเป็นกลุ่ม - ผู้สูงอายุอยากทำงานเพื่อหารายได้ -ผู้สูงอายุในกลุ่มติดบ้าน ไม่สามารถทำกิจกรรมตามศักยภาพของตนเองที่มี

3.ด้านสิ่งแวดล้อมกายภาพ พบว่า
- ในการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุรวมตัวกันทำกิจกรรมไม่ต่อเนื่อง
- การเดินทางมาร่วมกิจกรรมไม่สะดวก - ไม่มีสถานที่รวมกลุ่มผู้สูงอายุ
- ไม่มีสถานที่ออกกำลังกายที่เหมาะสมที่จะเอื้อให้ผู้สูงอายุเข้าถึงการออกกำลังกาย -ข้อจำกัดของกิจกกรมทางกายในการ ออกกำลังกาย-
4.ด้านระบบ กลไกลที่เกี่ยวข้อง
- -ขาดผู้นำในการจัดกิจกรรม ไม่มีผู้นำคนเริ่มต้น ในการรวมกลุ่ม - การประชาสัมพันธ์ ไม่ทั่วถึง - ความก้าวหน้าเทคโนโลยี ผู้สูงอายุเข้าไม่ถึงในบางคน
- ไม่มีอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการทำกิจกรรมเช่นเครื่องเสียง
- ขาดกิจกรรมที่ส่งเสริมอาชีพ
  จากสาเหตุของปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบผลกระทบด้านสุขภาพ มีโรคประจำตัว จำนวน 67 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 25 คน โรคเบาหวาน จำนวน 35 คน โรคข้ออักเสบ ข้อเสื่อม จำนวน 5 คน และภาวะหกล้ม 2 คน นอนไม่หลับ มีภาวะเครียดผลกระทบด้านเศรษฐกิจ พบว่า ผู้สูงอายุต้องเสียค่าเดินทางไปรักษาพยาบาล ค่ารถ ค่ากิน เพิ่มขึ้นผู้สูงอายุต้องเสียค่าเดินทางไปรักษาในแต่ละครั้ง เป็นเงิน 100 บาทต่อครั้ง ในการเดินทางไปกลับ รพ.โคกโพธิ์ และ รพ.ปัตตานี ครั้งละ 300 บาทต่อครั้ง -ค่าเดินทางไปรักษาผู้สูงอายุต้องอาศัยลูกหลาน ขอช่วยเพื่อนบ้าน ผู้สูงอายุมีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย ส่วนใหญ่ลูกหลานต้องรับภาระในการหาค่าใช้จ่าย และค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวัน ผู้สูงอายุในชุมชนส่วนใหญ่ ไม่ประกอบอาชีพ อาศัยลูกหลานเลี้ยงดู บางส่วนมีอาชีพจากการรับจ้างกรีดยาง และรับจ้างทั่วไป มีรายได้วันละ 100-200 บาท ทำให้รายได้ไม่พอในการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวผลกระทบด้านสังคม สังคมมีแต่วัยสูงอายุซึ่งเป็นวัยพึ่งพิงชุมชนขาดความเข้มแข็งขาดแรงงาน กำลังสำคัญ ผลกระทบทางด้านจิตใจไม่ได้รับการยกย่องเชิดชูทางสังคม ผู้สูงอายุคิดว่าเป็นคนที่สังคมลืม ขาดคุณค่าในตนเอง ขาดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง ความพึงพอใจในชีวิตที่เหลืออยู่ ดังนั้นจำเป็นต้องส่งเสริมดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง และส่งเสริมการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุและดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้คลอบคลุมทุกหมู่บ้าน นอกจากนี้ต้องเตรียมความพร้อมการเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ โดยการให้ความรู้ ความเข้าใจทั่งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ ทางสังคม ตลอดจนการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ชมรมผู้สูงอายุบางโกระ ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุ เข้าใจสภาพปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุทุกๆ ด้าน เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและใจที่ดี มีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตัวเองเบื้องต้นได้ จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีความสุข ปี 2566 ขึ้น

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้

1.1มีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 20 คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนคุ้มบ้าน/ อปท./รพ.สต. เป็นต้น 1.2คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ.....20......คน มีความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและมีการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสม 1.3มีข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนที่ครบถ้วนเพื่อออกแบบกิจกรรม เช่น จำนวนและประเภทผู้สูงอายุ ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านสังคม เป็นต้น

2 ผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง และ มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการปฏิบัติตน อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

2.1 เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุออกแบบไว้ 2.2 ผู้สูงอายุจำนวน 70 คน (อย่างน้อยร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายจำนวน 85 คน) มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร
2.3 ร้อยละ 80 ผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการปฏิบัติตนอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

3 ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง สามารถทำกิจกรรมได้ตามข้อตกลง และติดตามผลการดำเนินงานของชมรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3.1ชมรมผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมหรือดำเนินการตามข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุ 3.2 มีข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย          ทุกคน จำนวน 85 คนรวมทั้งมีการคืนข้อมูลแก่ผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นประจำ  ทุกเดือน

4 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง

4.1ผู้สูงอายุ จำนวน 45 คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายจำนวน 85 คน)มีการออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆ ละ 30 นาทีในระยะเวลาโครงการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 6 เดือน 4.2ผู้สูงอายุ จำนวน 45 คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายจำนวน 85 คน) เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเป็นประจำอย่างน้อยร้อยละ 80 ของจำนวนครั้งที่กลุ่ม/ชมรมผู้สูงอายุจัดขึ้น
4.3ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชนทุกคน จำนวน 1  คน  (ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชน) ได้รับการเยี่ยมบ้านเป็นประจำอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง
4.4ผู้สูงอายุ จำนวน 45 คน(อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายจำนวน 85 คน) มีการบริโภคอาหารที่เหมาะสม 4.5ผู้สูงอายุ จำนวน 45 คน(อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายจำนวน 85 คน)มีความสุขเพิ่มขึ้น 4.6ร้อยละ 10 ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายหลักทั้งหมด 140 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67
1 สนับสนุนการบริหารจัดการ(19 พ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 10,000.00                    
2 กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตให้แก่ผู้สูงอายุ(7 มิ.ย. 2566-30 ก.ย. 2566) 10,500.00                    
3 การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ(12 มิ.ย. 2566-19 มิ.ย. 2566) 6,600.00                    
4 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ(2 ก.ค. 2566-2 ก.ค. 2566) 25,600.00                    
5 การสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน(5 ก.ค. 2566-5 ก.ค. 2566) 620.00                    
6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอื่นๆ ที่ชุมชนอยากทำ(12 ส.ค. 2566-12 ส.ค. 2566) 10,650.00                    
7 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ(10 ก.ย. 2566-10 ก.ย. 2566) 6,375.00                    
8 กิจกรรมการติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ(22 ก.ย. 2566-22 ก.ย. 2566) 9,870.00                    
9 การอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพตัวเอง(15 ธ.ค. 2566-22 ธ.ค. 2566) 10,600.00                    
10 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน(27 ก.พ. 2567-27 ก.พ. 2567) 8,500.00                    
รวม 99,315.00
1 สนับสนุนการบริหารจัดการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 101 10,000.00 18 10,000.00
1 มิ.ย. 66 - 31 ม.ค. 67 ค่าจัดทำรายงานและค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 6 2,000.00 2,000.00
6 - 7 มิ.ย. 66 อบรมปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 0 7,000.00 800.00
2 ก.ค. 66 จัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ โดยมีตราสัญลักษณ์ สสส. สำหรับติดในบริเวณที่จัดกิจกรรมทุกครั้งไม่เกิน 1,000 บาท 0 1,000.00 1,000.00
20 ก.ค. 66 ค่าเดินทางเพื่อทำธุรกรรมทางการเงิน ครั้งที่1 2 0.00 232.00
5 ส.ค. 66 AREครั้งที่2 20 0.00 0.00
7 ก.ย. 66 ค่าเดินทางเพื่อทำธุรกรรมทางการเงิน ครั้งที่2 2 0.00 232.00
25 ก.ย. 66 อบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 4 0.00 800.00
16 ต.ค. 66 AREครั้งที่3 20 0.00 0.00
18 ต.ค. 66 ค่าเดินทางเพื่อทำธุรกรรมทางการเงิน ครั้งที่3 2 0.00 232.00
22 พ.ย. 66 ตรายางประทับ 0 0.00 535.00
22 พ.ย. 66 ค่าเดินทางเพื่อทำธุรกรรมทางการเงิน ครั้งที่4 2 0.00 232.00
8 ธ.ค. 66 ค่าเดินทางเพื่อทำธุรกรรมทางการเงิน ครั้งที่5 2 0.00 232.00
17 ธ.ค. 66 ARE ครั้งที่4 20 0.00 0.00
8 ม.ค. 67 ค่าเดินทางเพื่อทำธุรกรรมทางการเงิน ครั้งที่6 2 0.00 232.00
15 ม.ค. 67 ไวนิลเพื่อทำเทมเพลตในการจัดอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย 8 0.00 1,200.00
15 ม.ค. 67 ค่าเดินทางไปจัดนิทรรศการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้ง และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่2/2567 8 0.00 872.00
15 ม.ค. 67 กิจกรรมอบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 2/2566 0 0.00 921.00
16 ม.ค. 67 ค่าเดินทางตรวจสอบเอกสารการเงินสนับสนุนทุนแผนงานร่วมทุนฯ 3 0.00 480.00
2 กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตให้แก่ผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 223 10,500.00 10 10,500.00
25 ก.ค. 66 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ การบรรยายธรรม ครั้งที่ 1 20 500.00 500.00
11 ส.ค. 66 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 การบรรยายธรรม 20 500.00 500.00
31 ส.ค. 66 กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียง (ครั้งที่ 1) ตาลอย 1 500.00 500.00
2 ก.ย. 66 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรม ครั้งที่ 3 40 500.00 500.00
15 ก.ย. 66 - 5 ม.ค. 67 ุ6.1 การออกกำลังกาย 40 6,000.00 6,000.00
19 ก.ย. 66 กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียง (ครั้งที่ 2) 1 500.00 500.00
2 ต.ค. 66 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรม ครั้งที่ 4 20 500.00 500.00
30 ต.ค. 66 กิจกรรมที่ 6 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียง (ครั้งที่ 3) 1 500.00 500.00
4 พ.ย. 66 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรม ครั้งที่ 5 40 500.00 500.00
30 ธ.ค. 66 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ บรรยายธรรม ครั้งที่ 6 40 500.00 500.00
3 การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 6,600.00 2 6,600.00
21 ก.ค. 66 กิจกรรมที่ 2 อบรมการสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (ครั้งที่ 1) 20 3,300.00 3,300.00
20 ต.ค. 66 กิจกรรมที่ 2 การสร้างเสริมสุขภาพและการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (ครั้งที่ 2) 20 3,300.00 3,300.00
4 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 240 25,600.00 12 25,600.00
2 ก.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 20 5,800.00 5,800.00
30 ส.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 20 1,800.00 1,800.00
15 ต.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 20 1,800.00 1,800.00
25 ต.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 4 20 1,800.00 1,800.00
10 พ.ย. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 5 20 1,800.00 1,800.00
23 พ.ย. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 6 20 1,800.00 1,800.00
9 ธ.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 7 20 1,800.00 1,800.00
13 ธ.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 8 20 1,800.00 1,800.00
19 ธ.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 9 20 1,800.00 1,800.00
26 ธ.ค. 66 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 10 20 1,800.00 1,800.00
3 ม.ค. 67 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 11 20 1,800.00 1,800.00
10 ม.ค. 67 กิจกรรมที่ 1 การประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 12 20 1,800.00 1,800.00
5 การสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 310 620.00 3 620.00
30 ก.ย. 66 กิจกรรมที่ 3 การสำรวจและจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 140 280.00 280.00
31 ต.ค. 66 กิจกรรมที่ 3 การสำรวจและจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 85 170.00 170.00
8 ธ.ค. 66 กิจกรรมที่ 3 การสำรวจและจัดทำข้อมูลผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 85 170.00 170.00
6 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอื่นๆ ที่ชุมชนอยากทำ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 10,650.00 1 10,650.00
25 พ.ย. 66 กิจกรรมที่ 7 อบรม เรื่อง การปลูกผักสวนครัวและสมุนไพรปลอดสารพิษ 50 10,650.00 10,650.00
7 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 255 6,375.00 3 6,375.00
10 ก.ย. 66 กิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 85 2,125.00 2,125.00
16 พ.ย. 66 กิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาขิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 85 2,125.00 2,125.00
22 ธ.ค. 66 กิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาขิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 85 2,125.00 2,125.00
8 กิจกรรมการติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 9,870.00 1 9,870.00
7 ม.ค. 67 กิจกรรมที่ 8 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ 50 9,870.00 9,870.00
9 การอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพตัวเอง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 70 10,600.00 1 10,600.00
28 ต.ค. 66 กิจกรรมที่ 5 กิจกรรม การอบรมให้ความรูแก่ผู้สูงอายุในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตัวเอง โดยพิจารณาตามสถานการณ์ปัญหาของพื้นที่ 70 10,600.00 10,600.00
10 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 8,500.00 1 8,500.00
13 ม.ค. 67 กิจกรรมที่ 9 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน 50 8,500.00 8,500.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 2 584.80
22 ม.ค. 67 ถอนเงิน เปิดบัญชี 0 0.00 500.00
22 ม.ค. 67 ถอนเงินดอกเบี้ย 0 0.00 84.80

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2566 14:55 น.