directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง)

assignment
บันทึกกิจกรรม
ถอนเงินค่าดอกเบี้ยให้แผนงานร่วมทุนฯ24 มกราคม 2567
24
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ถอนเงินค่าดอกเบี้ยให้แผนงานร่วมทุนฯ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ถอนเงินค่าดอกเบี้ยให้แผนงานร่วมทุนฯ จำนวน 48.52 บาท

ค่าจัดทำรายงานเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าทางระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์15 มกราคม 2567
15
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย จะดำเนินการจัดจ้าง นายมะดาโอะ เจะปอ เพื่อบันทึกรายงานกิจกรรมและสรุปโครงการฯโครงการในเว็ปไซต์ “ฅนสร้างสุข” https://happynetwork.org/

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ได้จ้างนายแวดาโอะ เจะปอ เป็นผู้บันทึกข้อมูลทั้งหมดในเว็ปไซต์ ฅนสร้างสุข

ค่าเดินทางเข้าร่วมกิจกรรมและธุรกรรมการเงิน15 มกราคม 2567
15
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย จะดำเนินการเบิกค่าเดินทางเพื่อทำธุรกรรมการเงินโครงการฯ ณ ธนาคารกรุงไทย สาขาเจริญประดิษฐ์ และค่าเดินทางเข้าร่วมอบรมเวทีแลกเปลี่ยนร่วมกับแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ณ โรงแรมปาร์ อินทาวน์ อ.เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เบิกค่าเดินทางเข้าร่วมอบรม 2 ครั้ง
  • เบิกค่าเดินทางเบิก-ฝากเงินธนาคารกรุงไทย สาขาเจริญประดิษฐ์ 5 ครั้ง
ARE แผนงานร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่ 215 มกราคม 2567
15
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ผู้รับผิดชอบโครงการฯได้รับหนังสือจากแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานีเชิญเข้าร่วมอบรม ARE 2 กับแผนงานฯ ในวันที่ 15 มกราคม 2567 เวลา 08.30 - 16.30 น. ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี เพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ ติดตาม และนำเสนอจัดนิทรรศการโครงการ โดยมีเจ้าหน้าที่โครงการเข้าร่วม 3 คน 1)นางสาวรูซีตา กาสอ 2)นางสาวซูไฮลา บือราเฮง 3)นายมะดาโอะ เจะปอ และได้จ้าทำไวนิลขนาด 180*80 ซม. พร้อมขาตั้งรูปตัว X จำนวน 1 ชุดๆละ 1,200 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • เข้าร่วมอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดโครงการในแต่ละพื้นที่
  • นำเสนอความสำเร็จของโครงการ
ARE ครั้งที่ 4 ร่วมกับพี่เลี้ยง8 มกราคม 2567
8
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นตอนกระบวนการลงพื้นที่ 1. อธิบายการเตรียมการของพี่เลี้ยง (พี่เลี้ยงเตรียมอะไร ชุมชนเตรียมอะไร อย่างไร สื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน) ชุมชนเตรียม 1.เตรียมจัด บันไดผลลัพธ์ประเด็น  เขียนเอกสารผลลัพธ์ ตัวชี้วัดตามผลผลัพธ์ ตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในการดำเนินการ 3 เดือนที่ผ่านมาและเอกสารประเมิน 9 มิติ(ลงบนกระดาษ)
2.เตรียมปากกาเคมี กระดาษชาร์ท กระดาษA 4 กระดาษกาว กระดานติดกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง 3.ประสานผู้เข้าร่วมทั้งสภาผู้นำชุมชน แกนนำ ภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสะท้อนตามผลลัพธ์/ตัวชี้วัด 4.เตรียมแบ่งบทบาทหน้าที่ ใครเปิดการประชุม ใครนำ ใครจดบันทึก ใครจดบนกระดาษ และใครจะเป็นคนถ่ายรูปและบันทึกวิดีโอ 5.เตรียมสถานที่ อาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประเมิน พี่เลี้ยงเตรียม 1. พี่เลี้ยงจะต้องโทรศัพท์ประสานสภาเพื่อสำรวจสถานการณ์/ บริบทชุมชน /ปฏิทินชุมชนในการลงพื้นที่ 2. ทำความเข้าใจเอกสารและทบทวนบันไดผลลัพธ์สภาและผลลัพธ์ประเด็นในการลงพื้นที่เพื่อการติดตามประเมินผล 3.ก่อนเริ่มกระบวนการพี่เลี้ยวงจะต้องถึงที่ประชุมล่วงหน้า 1 -2 ชั่วโมง เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจกระบวนการร่วมกับทีมสภาและชุมชนที่เข้าร่วม 4.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ คณะทำงาน จำนวน 12 คน
ขั้นตอนและกระบวนการจัดเวที (แต่ละขั้นตอนทำอะไรบ้าง มีวิธีการทำอย่างไร พี่เลี้ยง สภาผู้นำชุมชน ใครทำอะไรบ้าง เทคนิค กลวิธีในการจัดกระบวนการ) 1.คณะทำงานแนะนำ ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมและทบทวนบทบาทหน้าที่ในการดำเนินการ 2. คณะทำงานทบทวนโครงการที่ผ่านมาและบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดตามผลการดำเนินกิจกรรมจริงและเกิดขึ้นในปัจจุบัน 3.คณะทำงานร่วมกำหนดกติกา ARE เช่น 1.ทุกคนที่เข้าต้องแสดงความคิดเห็น 2.ผู้เข้าร่วมใช้ข้อมูลจาการประชุมสภาและผลการจัดกิจกรรมเป็นข้อมูลในการพูดคุย

4.คณะทำงานชวนพูดคุยเพื่อการมีส่วนร่วมให้ทุกคนได้แสดงความเห็น 5.ตัวแทนคณะทำงานสรุปประเด็นการสะท้องผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 6.มอบหมายตัวแทนในการจัดทำรายงานปิดงวดที่ 2-3 กำหนดการ การลงพื้นที่ติดตามประเมินแผนงานร่วมทุนฯ ลงพื้นที่ติดตามประเมินโครงการย่อยเพื่อการพัฒนา ARE4 “โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง)”

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นขั้นที่ 4 ของบันไดผลลัพท์โครงการ และอยู่ในช่วงสรุปโครงการ

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 3/35 มกราคม 2567
5
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) จะดำเนินการจัดประชุมเพื่อใช้ในการดำเนินการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 3 ในวันที่ 5 มกราคม 2567 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 09.00 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 20 คน
โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวังการออกกำลังกาย และการบริโภคอาหารของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน 2) เพื่อสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 25 คน และกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 25 คน ได้ปฏิบัติดำเนินการได้ครบ 100 %
  • มีผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน

ผลการปฏิบัติงาน...กลุ่มเป้าหมายจำนวน 42 คน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในเรื่องอาหารและออกกำลังกายตามกลไกการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (คิดเป็นร้อยละ 82 ของกลุ่มเป้าหมาย 50 คน) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 15 คน สามารถควบคุมอยู่ในเกณฑ์ปกติได้ (BP ≤120/80) (คิดเป็นร้อยละ 60 ของกลุ่มเสี่ยงHT 25 คน) กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 18 ราย สามารถควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ ) (FBS ≤ 100 mg/dl) (คิดเป็นร้อยละ 72 ของกลุ่มเสี่ยงDM 25 คน)

ARE ครั้งที่ 3 ร่วมกับพี่เลี้ยง1 มกราคม 2567
1
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นตอนกระบวนการลงพื้นที่ 1. อธิบายการเตรียมการของพี่เลี้ยง (พี่เลี้ยงเตรียมอะไร ชุมชนเตรียมอะไร อย่างไร สื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน) ชุมชนเตรียม 1.เตรียมจัด บันไดผลลัพธ์ประเด็น  เขียนเอกสารผลลัพธ์ ตัวชี้วัดตามผลผลัพธ์ ตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในการดำเนินการ 3 เดือนที่ผ่านมาและเอกสารประเมิน 9 มิติ(ลงบนกระดาษ)
2.เตรียมปากกาเคมี กระดาษชาร์ท กระดาษA 4 กระดาษกาว กระดานติดกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง 3.ประสานผู้เข้าร่วมทั้งสภาผู้นำชุมชน แกนนำ ภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสะท้อนตามผลลัพธ์/ตัวชี้วัด 4.เตรียมแบ่งบทบาทหน้าที่ ใครเปิดการประชุม ใครนำ ใครจดบันทึก ใครจดบนกระดาษ และใครจะเป็นคนถ่ายรูปและบันทึกวิดีโอ 5.เตรียมสถานที่ อาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประเมิน พี่เลี้ยงเตรียม 1. พี่เลี้ยงจะต้องโทรศัพท์ประสานสภาเพื่อสำรวจสถานการณ์/ บริบทชุมชน /ปฏิทินชุมชนในการลงพื้นที่ 2. ทำความเข้าใจเอกสารและทบทวนบันไดผลลัพธ์สภาและผลลัพธ์ประเด็นในการลงพื้นที่เพื่อการติดตามประเมินผล 3.ก่อนเริ่มกระบวนการพี่เลี้ยวงจะต้องถึงที่ประชุมล่วงหน้า 1 -2 ชั่วโมง เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจกระบวนการร่วมกับทีมสภาและชุมชนที่เข้าร่วม 4.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ คณะทำงาน จำนวน 12 คน
ขั้นตอนและกระบวนการจัดเวที (แต่ละขั้นตอนทำอะไรบ้าง มีวิธีการทำอย่างไร พี่เลี้ยง สภาผู้นำชุมชน ใครทำอะไรบ้าง เทคนิค กลวิธีในการจัดกระบวนการ) 1.คณะทำงานแนะนำ ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมและทบทวนบทบาทหน้าที่ในการดำเนินการ 2. คณะทำงานทบทวนโครงการที่ผ่านมาและบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดตามผลการดำเนินกิจกรรมจริงและเกิดขึ้นในปัจจุบัน 3.คณะทำงานร่วมกำหนดกติกา ARE เช่น 1.ทุกคนที่เข้าต้องแสดงความคิดเห็น 2.ผู้เข้าร่วมใช้ข้อมูลจาการประชุมสภาและผลการจัดกิจกรรมเป็นข้อมูลในการพูดคุย

4.คณะทำงานชวนพูดคุยเพื่อการมีส่วนร่วมให้ทุกคนได้แสดงความเห็น 5.ตัวแทนคณะทำงานสรุปประเด็นการสะท้องผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 6.มอบหมายตัวแทนในการจัดทำรายงานปิดงวดที่ 1 กำหนดการ การลงพื้นที่ติดตามประเมินแผนงานร่วมทุนฯ ลงพื้นที่ติดตามประเมินโครงการย่อยเพื่อการพัฒนา ARE3 “โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง)”

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นขั้นที่ 3 ของบันไดผลลัพท์โครงการ

กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน “กายบริหารตามกลุ่มวัย” ครั้งที่ 4/420 ธันวาคม 2566
20
ธันวาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน “กายบริหารตามกลุ่มวัย” ครั้งที่ 4 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายโครงการฯจำนวน 50 คน มีการออกกำลังกายร่วมกัน ในวันที่ 20 ธันวาคม 2566 ณ ลานอเนกประสงค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 12.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังทั้งหมด 50 คน โดยแบ่งเป็น 2 รอบๆละ 25 คน - ประเมินสุขภาวะ ตรวจวัดความดันโลหิตสูง และเจาะเลือดระดับน้ำตาลในเลือด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ออกกำลังกายร่วมกันฯด้วยท่อพีวีซี

กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน “กายบริหารตามกลุ่มวัย” ครั้งที่ 3/416 พฤศจิกายน 2566
16
พฤศจิกายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน “กายบริหารตามกลุ่มวัย” ครั้งที่ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายโครงการฯจำนวน 50 คน มีการออกกำลังกายร่วมกัน ในวันที่  16 พฤศจิกายน 2566 ณ ลานอเนกประสงค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 12.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังทั้งหมด 50 คน โดยแบ่งเป็น 2 รอบๆละ 25 คน - ประเมินสุขภาวะ ตรวจวัดความดันโลหิตสูง และเจาะเลือดระดับน้ำตาลในเลือด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ออกกำลังกายร่วมกันฯด้วยท่อพีวีซี

กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน “กายบริหารตามกลุ่มวัย” ครั้งที่ 2/424 ตุลาคม 2566
24
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน “กายบริหารตามกลุ่มวัย” ครั้งที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายโครงการฯจำนวน 50 คน มีการออกกำลังกายร่วมกัน ในวันที่ 24 ตุลาคม 2566 ณ ลานอเนกประสงค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 12.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังทั้งหมด 50 คน
โดยแบ่งเป็น 2 รอบๆละ 25 คน - ประเมินสุขภาวะ ตรวจวัดความดันโลหิตสูง และเจาะเลือดระดับน้ำตาลในเลือด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ออกกำลังกายร่วมกันฯด้วยท่อพีวีซี

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 2/39 ตุลาคม 2566
9
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) จะดำเนินการจัดประชุมเพื่อใช้ในการดำเนินการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 2 ในวันที่ 9 ตุลาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 09.00 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 20 คน โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อติดตามการดำเนินงานเฝ้าระวังการออกกำลังกาย และการบริโภคอาหารของกลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน 2) เพื่อสรุปผลการดำเนินงานของโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 25 คน และกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 25 คน ได้ปฏิบัติดำเนินการได้ครบ 100 %
  • มีผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน
กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน “กายบริหารตามกลุ่มวัย” ครั้งที่ 1/44 ตุลาคม 2566
4
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมออกกำลังกายร่วมกัน “กายบริหารตามกลุ่มวัย” ครั้งที่ 1 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายโครงการฯจำนวน 50 คน มีการออกกำลังกายร่วมกัน ในวันที่ 4 ตุลาคม 2566 ณ ลานอเนกประสงค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 12.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังทั้งหมด 50 คน โดยแบ่งเป็น 2 รอบๆละ 25 คน - ประเมินสุขภาวะ ตรวจวัดความดันโลหิตสูง และเจาะเลือดระดับน้ำตาลในเลือด

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

กลุ่มเป้าหมายทั้ง 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ได้มีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ออกกำลังกายร่วมกันฯด้วยท่อพีวีซี

กิจกรรม “ปิ่นโตอาหารสุขภาพ”4 ตุลาคม 2566
4
ตุลาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย กำหนดจัดกิจกรรมที่ 7 กิจกรรม “ปิ่นโตอาหารสุขภาพ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายโครงการฯจำนวน 50 คน มีความรู้เรื่องการโภชนาอาหารและการบริโภคอาหารอย่างไรลดเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในวันที่ 4 ตุลาคม 2566 ณ ลานอเนกประสงค์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 10.00 – 12.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังทั้งหมด 50 คน โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้ - เตรียมสถานที่การจัดกิจกรรม - ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายจัดทำอาหารปิ่นโตมื้อลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง - แนะนำการปรับประทานอาหารเพื่อลดโรคเรื้อรัง - จัดซื้อโมเดลอาหารปลอดภัย - ให้ความรู้ถึงการโภชการที่ดีสำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม 50 ราย คิดเป็น 100%
  • มีกลุ่มที่ทำอาหารปิ่นโตสุขภาพจำนวน 42 คน คิดเป็น 84%
  • กลุุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการโภชนาการที่ดีสำหรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหารที่ดี
AREแผนงานร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่ 125 กันยายน 2566
25
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยทางคณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโยได้รับหนังสือเชิญจากแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี เข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 ในวันที่ 25 กันยายน 2566 ณ ห้องประชุมแพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ เพื่อให้ผู้รับทุนไ้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ความก้าวหน้าของการจัดกิจกรรม ปัญหา อุปสรรค และผลลัพธ์การดำเนินงานที่ผ่านมา และเพื่อหาแก้ปัญหาแนวทางการดำเนินการที่ผ่านมา โดยทางผู้รับผิดชอบโครงการได้มีคำสั่งให้คณะทำงานเข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนจำนวน 3 ท่าน 1)นางสาวซูไฮลา บือราเฮง ประธานโครงการ 2)นางสาวรูซีตา กาสอ ผู้รับผิดชอบโครงการ 3)นายมะดาโอะ เจ๊ะปอ ผู้รับผิดชอบโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีผู้รับผิดชอบโครงการเข้าร่วมเข้าร่วมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 จำนวน 3 คน (ซูไฮลา บือราเฮง / รูซีตา กาสอ / มะดาโอะ เจ๊ะปอ) เข้าใจเรื่องการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรมให้สอดคล้องกับกิจกรรมที่มีอยู่ในโครงการ
มีการตรวจหลักฐานทางการเงิน เพื่อหาข้อสรุปแบบฟอร์มการเบิกจ่ายต่างๆ

ARE ครั้งที่ 2 ร่วมกับพี่เลี้ยง28 สิงหาคม 2566
28
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นตอนกระบวนการลงพื้นที่ 1. อธิบายการเตรียมการของพี่เลี้ยง (พี่เลี้ยงเตรียมอะไร ชุมชนเตรียมอะไร อย่างไร สื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน) ชุมชนเตรียม 1.เตรียมจัด บันไดผลลัพธ์ประเด็น  เขียนเอกสารผลลัพธ์ ตัวชี้วัดตามผลผลัพธ์ ตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในการดำเนินการ 3 เดือนที่ผ่านมาและเอกสารประเมิน 9 มิติ(ลงบนกระดาษ)
2.เตรียมปากกาเคมี กระดาษชาร์ท กระดาษA 4 กระดาษกาว กระดานติดกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง 3.ประสานผู้เข้าร่วมทั้งสภาผู้นำชุมชน แกนนำ ภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสะท้อนตามผลลัพธ์/ตัวชี้วัด 4.เตรียมแบ่งบทบาทหน้าที่ ใครเปิดการประชุม ใครนำ ใครจดบันทึก ใครจดบนกระดาษ และใครจะเป็นคนถ่ายรูปและบันทึกวิดีโอ 5.เตรียมสถานที่ อาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประเมิน พี่เลี้ยงเตรียม 1. พี่เลี้ยงจะต้องโทรศัพท์ประสานสภาเพื่อสำรวจสถานการณ์/ บริบทชุมชน /ปฏิทินชุมชนในการลงพื้นที่ 2. ทำความเข้าใจเอกสารและทบทวนบันไดผลลัพธ์สภาและผลลัพธ์ประเด็นในการลงพื้นที่เพื่อการติดตามประเมินผล 3.ก่อนเริ่มกระบวนการพี่เลี้ยวงจะต้องถึงที่ประชุมล่วงหน้า 1 -2 ชั่วโมง เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจกระบวนการร่วมกับทีมสภาและชุมชนที่เข้าร่วม 4.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ คณะทำงาน จำนวน 12 คน
ขั้นตอนและกระบวนการจัดเวที (แต่ละขั้นตอนทำอะไรบ้าง มีวิธีการทำอย่างไร พี่เลี้ยง สภาผู้นำชุมชน ใครทำอะไรบ้าง เทคนิค กลวิธีในการจัดกระบวนการ) 1.คณะทำงานแนะนำ ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมและทบทวนบทบาทหน้าที่ในการดำเนินการ 2. คณะทำงานทบทวนโครงการที่ผ่านมาและบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดตามผลการดำเนินกิจกรรมจริงและเกิดขึ้นในปัจจุบัน 3.คณะทำงานร่วมกำหนดกติกา ARE เช่น 1.ทุกคนที่เข้าต้องแสดงความคิดเห็น 2.ผู้เข้าร่วมใช้ข้อมูลจาการประชุมสภาและผลการจัดกิจกรรมเป็นข้อมูลในการพูดคุย

4.คณะทำงานชวนพูดคุยเพื่อการมีส่วนร่วมให้ทุกคนได้แสดงความเห็น 5.ตัวแทนคณะทำงานสรุปประเด็นการสะท้องผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 6.มอบหมายตัวแทนในการจัดทำรายงานปิดงวดที่ 1 กำหนดการ การลงพื้นที่ติดตามประเมินแผนงานร่วมทุนฯ ลงพื้นที่ติดตามประเมินโครงการย่อยเพื่อการพัฒนา ARE2 “โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง)” วันที่ 28 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 -15.00 น. ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี 09.00 - 10.30 น. พบปะคณะทำงาน เสนอแผนการดำเนินงาน ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม เช่นการเตรียมพื้นที่/ระหว่างการลงพื้นที่ติดตาม/หลังดำเนินการ 10.30 – 12.30 น. ทบทวนกิจกรรมผลการดำเนินงานตามบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน และสรุปตัวชี้วัดเชิงปริมาณ และคุณภาพ
12.30 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน/ปฏิบัติศาสนกิจ
13.00 – 14.00 น. การประเมินความเสี่ยงและความโดดเด่นของโครงการ
14.00 – 15.00 น. การเบิกจ่ายงบประมาณ/ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของโครงการ/กิจกรรม 15.00 น. ปิดประชุม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินกิจกรรมเริ่มขั้นที่ 3 ของบันไดผลลัพท์โครงการ

จัดอบรมให้ความรู้และตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ.24 สิงหาคม 2566
24
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย กำหนดจัดกิจกรรมที่ 5 “การอบรมให้ความรู้และตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ. (อาหาร/อารมณ์/ออกกำลังกาย)” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ.(อาหาร/อารมณ์/ ออกกำลังกาย) ในวันที่ 24 สิงหาคม 2566 ณ อาคารอเนกประสงค์ องค์การบริหารส่วนตำบลปุโละปุโย เวลา 08.30 – 16.30 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 60 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

มีกลุ่มเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังและคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 60 คน กลุ่มเป้าหมายโครงการทั้ง 50 คนมีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการปรับอารมณ์เพิ่มขึ้น ร้อยละ 100

ค่าจัดทำตรายางโครงการ18 สิงหาคม 2566
18
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย จะดำเนินการจัดจ้างทำตรายางชื่อแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานีและรหัสข้อตกลงโครงการประเภทหมึกในตัว

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1)ตรายางหมึกในตัว “แผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี” ขนาด 2.3 * 7 เซนติเมตร จำนวน 1 อัน
2)ตรายางหมึกในตัว “รหัสข้อตกลงโครงการ 65-P1-0068-021” ขนาด 0.9 * 2.5 เซนติเมตร จำนวน 1 อัน

จัดประชุมคณะทำงานคัดเลือกเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม18 สิงหาคม 2566
18
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย จะดำเนินการกิจกรรมที่ 4 จัดประชุมคณะทำงานคัดเลือกเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวน 50 คน โดยมีวัตถุประสงค์จัดประชุมคณะทำงานโครงการฯ ในการคัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย ในวันที่ 18 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 09.00 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นคณะทำงานโครงการฯทั้งหมด 20 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน
  • ได้กลุ่มเป้าหมายโครงการ 50 คน แบ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 25 คน และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 25 คน จากทั้งหมด 5 หมู่บ้าน
ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 1/327 กรกฎาคม 2566
27
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) จะดำเนินการจัดประชุมเพื่อใช้ในการดำเนินการประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน ครั้งที่ 1 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการและวางแผนการดำเนินงานตามแผนที่กำหนดไว้ ให้กับคณะทำงานโครงการฯ ในวันที่ 27 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย เวลา 09.00 – 14.00 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคณะทำงานตามคำสั่งโครงการฯ จำนวนทั้งหมด 20 คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ทราบถึงแนวทางการดำเนินงานโครงการ
  • แจ้งให้ผู้เข้าร่วมประชุมทราบถึงคำสั่งคณะทำงานโครงการฯ
  • พิจารณาวันที่จัดกิจกรรม “จัดอบรมให้ความรู้และตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3 อ.” ในวันที่ 24 สิงหาคม 2566 ณ อาคารอเนกประสงค์ อบต.ปุโละปุโย
  • มีผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน
ถอนเงิน เปิดบัญชี26 มิถุนายน 2566
26
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย Muktar
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

คณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย ได้ถอนค่าสำรองจ่ายเปิดบัญชีจำนวน 500 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ได้ถอนค่าเปิดบัญชี จำนวน 500 บาท

การประชาสัมพันธ์ เชิญชวน และแต่งตั้งคำสั่งคณะทำงานด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงโรคเรื้อรัง19 มิถุนายน 2566
19
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะผู้รับผิดชอบโครงการได้กำหนดจัดตั้งคำสั่งคณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านกาหยี หมู่ที่ 4 บ้านโคกคอแห้ง หมู่ที่ 5 บ้านปาแดลางา หมู่ที่ 8 บ้านกูแบซือโย๊ะ และหมู่ที่ 9 บ้านคลองควน ตำบลปุโละปุโย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหาร ด้านออกกำลังกาย และด้านอารมณ์ เพื่อให้โครงการบรรลุวัตถุประสงค์และดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

เกิดคณะกรรมการด้านการเฝ้าระวังและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในระดับตำบลจำนวน 1 ฉบับ มีคณะทำงาน 19 คน ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข รพ.สต.ปุโละปุโย 1 คน / อสม.ม.1 จำนวน 4 คน / อสม.ม.4 จำนวน 4 คน / อสม.ม.5 จำนวน 4 ราย / อสม.ม.8 จำนวน 2 ราย / อสม.ม.9 จำนวน 3 ราย และชมรมรักสุขภาพ 1 คน

สำรวจข้อมูลจัดทำข้อมูลสถานการณ์กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง16 มิถุนายน 2566
16
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย มุสตากีม ดอนิ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วยคณะผู้รับผิดชอบโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง(โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ได้จัดทำสถานการณ์โรคไม่ตืดต่อเรื้อรังจากการได้ลงพื้นที่คัดกรองประชาชนในพื้นที่ เพื่อทราบถึงอัตราการป่วยและกลุ่เสี่ยงด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อธิเช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคไต โดยมีลำดับขั้นตอนดังนี้ - ลงพื้นที่คัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง - หาข้อมูลสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่เพิ่มเติม - ตรวจสอบข้อมูลที่ได้คัดกรอง - จัดทีมประชุมพูดคุยเรื่องข้อมูล - จัดทำเป็นสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่ - วิเคราะห์สถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรังในพื้นที่

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีเป็นพื้นที่ที่มีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นทุกปี จากการสำรวจและลงพื้นที่คัดกรองโรคไม่ติดต่อเรื้อรังทั้งหมด 1,387 ราย ผลปกติ 1,074 ราย คิดเป็นร้อยละ 77.43 ผลพบมีความเสี่ยงสูงป่วยด้วยโรคเบาหวาน 103 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.42 โรคความดันโลหิตสูง 173 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.47 และโรคไต 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.66

ARE ครั้งที่ 1 ร่วมกับพี่เลี้ยง9 มิถุนายน 2566
9
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ขั้นตอนกระบวนการลงพื้นที่ 1. อธิบายการเตรียมการของพี่เลี้ยง (พี่เลี้ยงเตรียมอะไร ชุมชนเตรียมอะไร อย่างไร สื่อสารอะไร อย่างไรกับชุมชน) ชุมชนเตรียม 1.เตรียมจัด บันไดผลลัพธ์ประเด็น  เขียนเอกสารผลลัพธ์ ตัวชี้วัดตามผลผลัพธ์ ตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในการดำเนินการ 3 เดือนที่ผ่านมาและเอกสารประเมิน 9 มิติ(ลงบนกระดาษ)
2.เตรียมปากกาเคมี กระดาษชาร์ท กระดาษA 4 กระดาษกาว กระดานติดกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่เกี่ยวข้อง 3.ประสานผู้เข้าร่วมทั้งสภาผู้นำชุมชน แกนนำ ภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมสะท้อนตามผลลัพธ์/ตัวชี้วัด 4.เตรียมแบ่งบทบาทหน้าที่ ใครเปิดการประชุม ใครนำ ใครจดบันทึก ใครจดบนกระดาษ และใครจะเป็นคนถ่ายรูปและบันทึกวิดีโอ 5.เตรียมสถานที่ อาหารสำหรับผู้เข้าร่วมประเมิน พี่เลี้ยงเตรียม 1. พี่เลี้ยงจะต้องโทรศัพท์ประสานสภาเพื่อสำรวจสถานการณ์/ บริบทชุมชน /ปฏิทินชุมชนในการลงพื้นที่ 2. ทำความเข้าใจเอกสารและทบทวนบันไดผลลัพธ์สภาและผลลัพธ์ประเด็นในการลงพื้นที่เพื่อการติดตามประเมินผล 3.ก่อนเริ่มกระบวนการพี่เลี้ยวงจะต้องถึงที่ประชุมล่วงหน้า 1 -2 ชั่วโมง เพื่อซักซ้อมทำความเข้าใจกระบวนการร่วมกับทีมสภาและชุมชนที่เข้าร่วม 4.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมเวทีสะท้อนผล ได้แก่ คณะทำงาน จำนวน 12 คน
ขั้นตอนและกระบวนการจัดเวที (แต่ละขั้นตอนทำอะไรบ้าง มีวิธีการทำอย่างไร พี่เลี้ยง สภาผู้นำชุมชน ใครทำอะไรบ้าง เทคนิค กลวิธีในการจัดกระบวนการ) 1.คณะทำงานแนะนำ ภาคีเครือข่ายที่เข้าร่วมและทบทวนบทบาทหน้าที่ในการดำเนินการ 2. คณะทำงานทบทวนโครงการที่ผ่านมาและบันไดผลลัพธ์ และตัวชี้วัดตามผลการดำเนินกิจกรรมจริงและเกิดขึ้นในปัจจุบัน 3.คณะทำงานร่วมกำหนดกติกา ARE เช่น 1.ทุกคนที่เข้าต้องแสดงความคิดเห็น 2.ผู้เข้าร่วมใช้ข้อมูลจาการประชุมสภาและผลการจัดกิจกรรมเป็นข้อมูลในการพูดคุย

4.คณะทำงานชวนพูดคุยเพื่อการมีส่วนร่วมให้ทุกคนได้แสดงความเห็น 5.ตัวแทนคณะทำงานสรุปประเด็นการสะท้องผลลัพธ์ตามตัวชี้วัด 6.มอบหมายตัวแทนในการจัดทำรายงานปิดงวดที่ 1

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับผิดชอบโครงการดำเนินกิจกรรมเริ่มขั้นที่ 2 ของบันไดผลลัพท์โครงการ

ค่าจัดป้ายบันไดผลลัพธ์6 มิถุนายน 2566
6
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วย นางสาวรูซีตา กาสอ คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย จะดำเนินการจัดจ้างทำไวนิลป้ายบันไดผลลัพธ์ เพื่อการบริหารจัดการด้านการจัดกิจกรรมของโครงการฯให้เป็นไปตามผลลัพธ์ของโครงการฯ จึงมีความจำเป็นต้องใช้งบประมาณ 260 บาท (เงินสองร้อยหกสิบบาทถ้วน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์โครงการ ขนาด 80*100 เซนติเมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 260 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์โครงการ ขนาด 80 ซ.ม.*100 ซ.ม. จำนวน 1 ผืน

ค่าจัดทำป้ายสถานที่และป้ายชื่อโครงการ6 มิถุนายน 2566
6
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ด้วย นางสาวรูซีตา กาสอ คณะทำงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) ตำบลปุโละปุโย จะดำเนินการจัดจ้างไวนิลป้ายปลอดบุหรี่และสุรา/ป้ายชื่อโครงการ เพื่อเป็นแผ่นป้ายแสดงในการทำกิจกรรมต่างๆในโครงการ จึงมีความจำเป็นต้องใช้งบประมาณ 740 บาท (เงินเจ็ดร้อยสี่สิบบาทถ้วน) มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. ค่าป้ายไวนิลสถานที่ปลอดบุหรี่และสุรา ขนาด 8080 เซนติเมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 220 บาท 2. ค่าป้ายไวนิลชื่อโครงการ ขนาด 120200 เซนติเมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 520 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  • ป้ายไวนิลสถานที่ปลอดบุหรี่และสุรา ขนาด 80 ซ.ม. * 80 ซ.ม. จำนวน 1 ผืน
  • ป้ายชื่อโครงการ ขนาด 120 ซ.ม.* 200 ซ.ม. จำนวน 1 ผืน
อบรมเวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน6 มิถุนายน 2566
6
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย rusita
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

กำหนดการอบรม เวทีปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน ระหว่างวันที่ 6 - 7 มิถุนายน ๒๕๖6
ณ ห้องประชุมเพนดูล่า 3 โรงแรมปาร์ค อินทาวน์ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ………………………………


วันที่  6 มิถุนายน 2566
๐๘.3๐ - ๐9.0๐ น. ลงทะเบียน ๐๙.๐๐ - ๐๙.30 น. พิธีเปิดการอบรม และชี้แจงวัตถุประสงค์การปฐมนิเทศ และพัฒนาศักยภาพผู้รับทุนโดยนายเศรษฐ์ อัลยุฟรี นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี (ประธานกรรมการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะในพื้นที่จังหวัดปัตตานี) และกล่าวรายงานโดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข
๐๙.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมอบรม ในหัวข้อ "การดำเนินงานและบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน" (ต่อ) โดยนางสาวมาริสา เกียรติศักดิ์โสภณ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และนายมุคตาร วายา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.0๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การวางแผนดำเนินงานและกำหนดกิจกรรมที่โครงการย่อย” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร และทีมผู้ช่วยวิทยากร
กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ


กลุ่มที่ 11....

  • 2 –

    กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.0๐ - ๑๔.15 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.1๕ - ๑6.30 น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การออกแบบเก็บข้อมูลและกำหนดกิจกรรมที่นำไปสู่ผลลัพธ์” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ สสส. และทีมผู้ช่วยวิทยากร
    กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
    กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
    กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี วันที่  7  มิถุนายน 2566
    ๐8.30 - ๑๐.๓๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔0 - ๑๒.0๐ น. รับฟังการบรรยายให้ความรู้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ ในหัวข้อ “การเบิกจ่ายเงิน รายงานการใช้จ่ายเงิน และรายงานผลการดำเนินงาน” และถาม - ตอบ เกี่ยวกับการเงิน โดยนางกัลยา  เอี่ยวสกุล วิทยากร
    ๑๒.0๐ - ๑๓.0๐ น. รับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.0๐ - ๑๔.๓๐ น. รับฟังการบรรยาย ในหัวข้อ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯและการรายงานกิจกรรม” และแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล และทีมผู้ช่วยวิทยากร


    กลุ่มที่ 1...


  • 3 –

กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔0 น. รับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔0 - ๑6.3๐ น. แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ “การคีย์ข้อมูลลงระบบบริหารแผนงานร่วมทุนฯ
และการรายงานกิจกรรม”(ต่อ) โดยนางกัลยา เอี่ยวสกุล วิทยากร
และทีมผู้ช่วยวิทยากร กลุ่มที่ 1 นายมุคตาร  วายา
กลุ่มที่ 2 ผศ.สุวิมล  นราองอาจ กลุ่มที่ 3 นางสาววรรณาพร  บัวสุวรรณ กลุ่มที่ 4 นายไพจิตร  บุญทอง กลุ่มที่ 5 นายอับดุลราซัค  กุลตามา กลุ่มที่ 6 นางอรัญญา  ฤทธิเดช กลุ่มที่ 7 นางสาววรรณี  ชัยรัตนมโนกร กลุ่มที่ 8 นางสาวจุฬามณี  รังสิเวค กลุ่มที่ 9 นางสาวคนึงนิจ  มากชูชิต กลุ่มที่ 10 นายอานัติ  หวังกุหลำ กลุ่มที่ 11 นางสาวเสาวลักษณ์  ศรเรือง กลุ่มที่ 12 นางไซนับ  อาลี
กลุ่มที่ 13 นายมุสตากีม  ดอนิ กลุ่มที่ 14 นางสาวนุชรัตน์  นวลดี

หมายเหตุ  : กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม             : โปรดนำสำเนาโครงการที่ขอรับทุน และให้ผู้รับทุนนำคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้รับทุนที่เข้ารับการอบรมปฐมนิเทศได้รับความรู้การดำเนินงานและการบริหารจัดการแผนงานร่วมทุน มีความรู้และสามารถบันทึกข้อมูลในเวปไซต์ฅนสร้างสุข มีความรู้เรื่องการเบิกจ่ายเงินโครงการ