directions_run

โครงการการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า และโรคเรื้อรัง

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เกิดคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ(ชุดใหม่)ที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : 1.1 มีคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 15 คน ที่มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนคุ้มบ้าน อปท. รพ.สต. เป็นต้น 1.2 คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ 15 คน มีความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและมีการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสม 1.3 มีข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนที่ครบถ้วนเพื่อออกแบบกิจกรรม เช่น จำนวนและประเภทผู้สูงอายุ ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านสังคม เป็นต้น

 

 

 

2 2. ผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุออกแบบไว้ 2.2 ผู้สูงอายุ จำนวน 60 คน (อย่างน้อยร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย) มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น การออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร

 

 

 

3 3. ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็ง สามารถทำกิจกรรมได้ตามข้อตกลง และติดตามผลการดำเนินงานของชมรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 2.1 ชมรมผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมหรือดำเนินการตามข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุ 3.2 มีข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทุกคน จำนวน 80 คน รวมทั้งมีการคืนข้อมูลแก่ผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นประจำทุกเดือน 3.3 ผู้สูงอายุ จำนวน 56 คน (อย่างน้อยร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 80 คน) ใช้เวลาว่างในการส่งเสริมอาชีพ และมีรายได้เสริม

 

 

 

4 4. ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2.1 ผู้สูงอายุ จำนวน 56 คน (อย่างน้อยร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 80 คน) มีการออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆ ละ 30 นาที ในระยะเวลาโครงการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 6 เดือน 2.2 ผู้สูงอายุ จำนวน 56 คน (อย่างน้อยร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 80 คน) เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเป็นประจำอย่างน้อยร้อยละ 80 ของจำนวนครั้งที่กลุ่ม/ชมรมผู้สูงอายุจัดขึ้น 2.3 ผู้สูงอายุ จำนวน 56 คน (อย่างน้อยร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 80 คน) มีการบริโภคอาหารที่เหมาะสม 2.4 ผู้สูงอายุ จำนวน 56 คน (อย่างน้อยร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 80 คน) มีความสุขเพิ่มขึ้น