directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านนางโอ หมู่ 4 ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชนบ้านนางโอ หมู่ 4 ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่จังหวัดปัตตานี
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 65-P1-0068-026
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ลาน
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาว อารียา อำมาตย์
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0879697414
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ maelan.rp@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางอรัญญา ฤทธิเดธ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.65881,101.242104place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 80,000.00
2 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567 31 ม.ค. 2567 20,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานเหล้า , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการสำรวจข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ลาน และ อสม.ในพื้นที่ พบว่าประชากรในชุมชนบ้านนางโอ หมู่ 4 ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี มีประชากรทั้งหมด จำนวน 498 ราย โดยจำแนกกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 130 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.10 โดยมีกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคมจำนวน 129 รายคิดเป็นร้อยละ 99.23 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.76 และกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง 0 ราย โดยแบ่งตามกลุ่มโรคเรื้อรัง จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด จำนวน 96 ราย เป็นโรคความดันโลหิตสูง 72 ราย  คิดเป็นร้อยละ 55.38 รองลงมามีโรคร่วมทั้งความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.84 และโรคอื่นๆตามลำดับ กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่อง จำนวน 65 ราย คิดเป็นร้อยละ 50 และจากการคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 130 ราย พบว่าผู้สูงอายุ จำนวน 65 ราย  มีพฤติกรรมไม่ออกกำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา นอนหลับไม่สนิท จำนวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.23
และการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม 75 ราย คิดเป็นร้อยละ 71.5 ตามลำดับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงร้อยละ จำนวนของผู้สูงอายุและข้อมูลด้านสุขภาพในปี พ.ศ.2565 หมู่ 4 บ้านนางโอ
ข้อมูล ปี 2565 จำนวน(คน) ร้อยละ ประชาชนทั้งหมด (ม.4) 498
ชาย 259 52.00 หญิง 239 48.00 อายุ 60 ปีขึ้นไป 130 26.10 ติดสังคม 129 99.23 ติดบ้าน 1 0.76 ติดเตียง 0 0 แยกเป็นตามกลุ่มโรคเรื้อรัง
HT 72 55.38 HT c DM 18 13.84 โรคข้อเข่าเสื่อม 10 7.69 DM 3 2.30 ACS 3 2.30 กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่อง 65 50.00

ข้อมูล ปี 2565 จำนวน(คน) ร้อยละ การคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพ
ไม่ออกกำลังกาย 65 50 นอนหลับไม่สนิท 25 19.23 บริโภคอาหารไม่เหมาะสม 75 71.5 สายตาผิดปกติ 3 2.30 ภาวะซึมเศร้า 2 1.53

จากการสำรวจคัดกรองผู้สูงอายุประจำปี 2565 พบว่า ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีปัญหาเสี่ยง
ด้านพฤติกรรมสุขภาพ ผู้สูงอายุขาดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพพฤติกรรมไม่พึงประสงค์เช่น ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ นอนหลับไม่สนิท รวมถึงการบริโภคอาหารไม่เหมาะสม รับประทานอาหารซ้ำๆ เช่น ข้าวยำ บางคนสูบบุหรี่ดื่มสุรา ซึ่งจะส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาสุขภาพ ส่งผลให้เกิดโรคเรื้อรังในกลุ่มวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคข้อเข่าเสื่อม ซึ่งหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อตัวผู้สูงอายุเอง และครอบครัวรวมถึงภาครัฐที่จะต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
ด้านสังคม พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ต่างคนต่างอยู่ขาดการดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ผู้สูงอายุมีหน้าที่ต้องเลี้ยงหลาน บางคนไม่ได้อยู่ในชุมชน ไปๆมาๆ ทำให้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆที่ชุมชนจัดไม่ต่อเนื่อง ไม่สะดวกในการเดินทาง การเดินทางลำบาก(ไม่มีรถ) มีผลกระทบต่อผู้สูงอายุเองทำให้ไม่ได้รับการยกย่องจากสังคม ขาดการรวมกลุ่ม ทำกิจกรรมทำให้คุณค่าในตัวเองลดลง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลและสภาพแวดล้อมโดยใช้กลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชุมชนและเพิ่มคุณค่าให้กับตัวเอง เป็นที่ยอมรับของสังคม
ด้านสภาพสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สถานที่และอุปกรณ์ไม่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมสุขภาพ ชุมชนไม่มีสถานที่ในการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุ ไม่มีกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาวะทางจิตใจ ด้านเศรษฐกิจ ปัญหาที่พบคือ ผู้สูงอายุขาดรายได้ให้กับตัวเอง กลายเป็นภาระให้กับครอบครัว หากผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ สามารถเพิ่มรายให้กับตัวเองและครอบครัวทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น อีกทั้งในห้วงเวลาที่ผ่านมา เมื่อปี 2553 จนถึงปัจจุบัน เกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิดซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน การรวมกลุ่มกันของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมทางสังคมอีกด้วย ดังนั้น เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในระดับหมู่บ้าน หรือชุมชนถือเป็นกลไกสำคัญที่มีบทบาทสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิต  ให้แก่ผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความใกล้ชิดเข้าใจสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ รวมถึงสามารถเข้าถึง  และพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชนได้ดีที่สุด แต่ในปัจจุบันกลับพบว่ากลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในบางพื้นที่ยังขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม กล่าวคือ ในระยะเริ่มต้นของการรวมตัว แม้จะมีการรวมตัวมานานแล้วแต่ขาดการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน ชุมชนผู้สูงอายุบ้านนางโอจึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ปี 2566 นี้ขึ้น

จากการสำรวจข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่ลาน และ อสม.ในพื้นที่ พบว่าประชากรในชุมชนบ้านนางโอ หมู่ 4 ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี มีประชากรทั้งหมด จำนวน 498 ราย โดยจำแนกกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 130 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.10 โดยมีกลุ่มผู้สูงอายุติดสังคมจำนวน 129 รายคิดเป็นร้อยละ 99.23 กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้าน จำนวน 1 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.76 และกลุ่มผู้สูงอายุติดเตียง 0 ราย โดยแบ่งตามกลุ่มโรคเรื้อรัง จำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด จำนวน 96 ราย เป็นโรคความดันโลหิตสูง 72 ราย  คิดเป็นร้อยละ 55.38 รองลงมามีโรคร่วมทั้งความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 13.84 และโรคอื่นๆตามลำดับ กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่อง จำนวน 65 ราย คิดเป็นร้อยละ 50 และจากการคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 130 ราย พบว่าผู้สูงอายุ จำนวน 65 ราย  มีพฤติกรรมไม่ออกกำลังกาย คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา นอนหลับไม่สนิท จำนวน 25 ราย คิดเป็นร้อยละ 19.23
และการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม 75 ราย คิดเป็นร้อยละ 71.5 ตามลำดับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 แสดงร้อยละ จำนวนของผู้สูงอายุและข้อมูลด้านสุขภาพในปี พ.ศ.2565 หมู่ 4 บ้านนางโอ
ข้อมูล ปี 2565 จำนวน(คน) ร้อยละ ประชาชนทั้งหมด (ม.4) 498
ชาย 259 52.00 หญิง 239 48.00 อายุ 60 ปีขึ้นไป 130 26.10 ติดสังคม 129 99.23 ติดบ้าน 1 0.76 ติดเตียง 0 0 แยกเป็นตามกลุ่มโรคเรื้อรัง
HT 72 55.38 HT c DM 18 13.84 โรคข้อเข่าเสื่อม 10 7.69 DM 3 2.30 ACS 3 2.30 กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่อง 65 50.00

ข้อมูล ปี 2565 จำนวน(คน) ร้อยละ การคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพ
ไม่ออกกำลังกาย 65 50 นอนหลับไม่สนิท 25 19.23 บริโภคอาหารไม่เหมาะสม 75 71.5 สายตาผิดปกติ 3 2.30 ภาวะซึมเศร้า 2 1.53

จากการสำรวจคัดกรองผู้สูงอายุประจำปี 2565 พบว่า ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีปัญหาเสี่ยง
ด้านพฤติกรรมสุขภาพ ผู้สูงอายุขาดความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพพฤติกรรมไม่พึงประสงค์เช่น ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ นอนหลับไม่สนิท รวมถึงการบริโภคอาหารไม่เหมาะสม รับประทานอาหารซ้ำๆ เช่น ข้าวยำ บางคนสูบบุหรี่ดื่มสุรา ซึ่งจะส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาสุขภาพ ส่งผลให้เกิดโรคเรื้อรังในกลุ่มวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคข้อเข่าเสื่อม ซึ่งหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อตัวผู้สูงอายุเอง และครอบครัวรวมถึงภาครัฐที่จะต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าระวังดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
ด้านสังคม พบว่า ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ต่างคนต่างอยู่ขาดการดูแลช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ผู้สูงอายุมีหน้าที่ต้องเลี้ยงหลาน บางคนไม่ได้อยู่ในชุมชน ไปๆมาๆ ทำให้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆที่ชุมชนจัดไม่ต่อเนื่อง ไม่สะดวกในการเดินทาง การเดินทางลำบาก(ไม่มีรถ) มีผลกระทบต่อผู้สูงอายุเองทำให้ไม่ได้รับการยกย่องจากสังคม ขาดการรวมกลุ่ม ทำกิจกรรมทำให้คุณค่าในตัวเองลดลง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นที่จะมุ่งเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลและสภาพแวดล้อมโดยใช้กลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชุมชนและเพิ่มคุณค่าให้กับตัวเอง เป็นที่ยอมรับของสังคม
ด้านสภาพสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สถานที่และอุปกรณ์ไม่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมสุขภาพ ชุมชนไม่มีสถานที่ในการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุ ไม่มีกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกายและสุขภาวะทางจิตใจ ด้านเศรษฐกิจ ปัญหาที่พบคือ ผู้สูงอายุขาดรายได้ให้กับตัวเอง กลายเป็นภาระให้กับครอบครัว หากผู้สูงอายุมีการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ สามารถเพิ่มรายให้กับตัวเองและครอบครัวทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น อีกทั้งในห้วงเวลาที่ผ่านมา เมื่อปี 2553 จนถึงปัจจุบัน เกิดการแพร่ระบาดของโรคโควิดซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน การรวมกลุ่มกันของผู้สูงอายุในการทำกิจกรรมทางสังคมอีกด้วย ดังนั้น เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ กลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในระดับหมู่บ้าน หรือชุมชนถือเป็นกลไกสำคัญที่มีบทบาทสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิต  ให้แก่ผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความใกล้ชิดเข้าใจสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ รวมถึงสามารถเข้าถึง  และพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชนได้ดีที่สุด แต่ในปัจจุบันกลับพบว่ากลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในบางพื้นที่ยังขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม กล่าวคือ ในระยะเริ่มต้นของการรวมตัว แม้จะมีการรวมตัวมานานแล้วแต่ขาดการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน ชุมชนผู้สูงอายุบ้านนางโอจึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ปี 2566 นี้ขึ้น

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเกิดแกนนำชมรมผู้สูงอายุที่เข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพได้

1.มีคณะกรรมการดำเนินโครงการที่ร่วมดำเนินการในทุกขั้นตอนอย่างน้อย 16 คน มีโครงสร้างการดำเนินงานที่ชัดเจน และมาจากองค์ประกอบที่หลากหลาย เช่น กรรมการหมู่บ้าน ตัวแทนคุ้มบ้าน อปท. รพ.สต. เป็นต้น 2.มีความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและมีการออกแบบกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่เหมาะสม 3.มีข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนที่ครบถ้วนเพื่อออกแบบกิจกรรม เช่น จำนวนและประเภทผู้สูงอายุ ข้อมูลด้านสุขภาพ ข้อมูลด้านสังคม เป็นต้น
4.ชมรมผู้สูงอายุมีการทำกิจกรรมหรือดำเนินการตาม
ข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุ

2 ผู้สูงอายุมีความรู้และความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง

1.เกิดข้อตกลงร่วมของผู้สูงอายุในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผนที่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุออกแบบไว้ 2.ร้อยละ 100 ของกลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรังสามารถทำกิจกรรมต่อเนื่องมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองที่เหมาะสม เช่น การออกกำลังกาย การบริโภค การบริโภคอาหาร การพลัดตกหกล้ม

3 สำรวจข้อมูลและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad@home

1.มีข้อมูลภาวะสุขภาพและพฤติกรรมของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมายทุกคน จำนวน 130    คน รวมทั้งมีการคืนข้อมูลแก่ผู้สูงอายุและครอบครัวเป็นประจำทุกเดือน .2.มีผลลัพธ์การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรัง สามารถเข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

4 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง
  1. ผู้สูงอายุ จำนวน 65  คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 130 คน) มีการออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆ ละ 30 นาที ในระยะเวลาโครงการต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 6 เดือน
  2. ผู้สูงอายุ จำนวน 65  คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 130 คน) เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตเป็นประจำอย่างน้อยเดือน ละ 1 ครั้ง
  3. ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชนทุกคน จำนวน 1  คน (ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในชุมชน) ได้รับการเยี่ยมบ้านเป็นประจำอย่างน้อย 2 เดือน/ครั้ง
  4. ผู้สูงอายุ จำนวน  65  คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 130 คน) มีการพฤติกรรมเหมาะสมและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ
  5. ผู้สูงอายุ จำนวน  65 คน (อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 130 คน) ได้รับการประเมินความสุข ด้านที่ 5 :สุขสงบ (Peacefulness)
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง 20 -
กลุ่มเป้าหมายหลัก 130 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67
1 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ(1 พ.ค. 2566-5 ธ.ค. 2566) 9,600.00                    
2 กิจกรรมที่ 2 การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ(1 พ.ค. 2566-30 มิ.ย. 2566) 6,840.00                    
3 กิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ(1 พ.ค. 2566-31 ก.ค. 2566) 23,400.00                    
4 กิจกรรมที่ 6 จัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ(1 พ.ค. 2566-30 พ.ย. 2566) 5,500.00                    
5 สสส.สนับสนุนงบเพิ่มเติมเพื่อบริหารจัดการจำนวน 10,000 บาท(1 พ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 10,000.00                    
6 กิจกรรมที่ 5 การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรัง ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง(1 มิ.ย. 2566-30 มิ.ย. 2566) 10,800.00                    
7 กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมการทำน้ำมันไพล(1 ก.ค. 2566-31 ก.ค. 2566) 11,650.00                    
8 กิจกรรมที่ 3 การสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad@home(18 ก.ค. 2566-1 ธ.ค. 2566) 3,840.00                    
9 กิจกรรมที่ 8 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ(1 ต.ค. 2566-31 ต.ค. 2566) 9,870.00                    
10 กิจกรรมที่ 9 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน(1 พ.ย. 2566-30 พ.ย. 2566) 8,500.00                    
รวม 100,000.00
1 กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 16 9,600.00 5 9,600.00
9 มิ.ย. 66 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ (ครั้งที่1) ชี้แจงรายละเอียดโครงการ 16 1,920.00 1,920.00
16 มิ.ย. 66 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ (ครั้งที่ 2) ชี้แจงและทำความเข้าใจโครงการ รวมถึงแบ่งบทบาทหน้าที่ 0 1,920.00 1,920.00
14 ก.ค. 66 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ (ครั้งที่ 3) พูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการดำเนินกิจกรรม 0 1,920.00 1,920.00
20 ต.ค. 66 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ (ครั้งที่ 4) พูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรม 0 1,920.00 1,920.00
3 ธ.ค. 66 ประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ (ครั้งที่ 5) (สรุปผลการดำเนินงาน) 0 1,920.00 1,920.00
2 กิจกรรมที่ 2 การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 16 6,840.00 2 6,840.00
21 ก.ค. 66 การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 16 3,420.00 3,420.00
24 ต.ค. 66 การอบรมให้ความรู้แก่คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 0 3,420.00 3,420.00
3 กิจกรรมที่ 4 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 65 23,400.00 3 23,400.00
4 ส.ค. 66 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 1 65 7,800.00 7,800.00
8 ก.ย. 66 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 2 0 7,800.00 7,800.00
9 ต.ค. 66 ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ครั้งที่ 3 0 7,800.00 7,800.00
4 กิจกรรมที่ 6 จัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 130 5,500.00 14 5,500.00
19 มิ.ย. 66 1.1 การออกกำลังกายรำไม้พลอง (ครั้งที่ 1) 65 500.00 500.00
21 มิ.ย. 66 2.1 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 1 65 500.00 500.00
14 ก.ค. 66 1.2 การออกกำลังกายรำผ้าขาวม้า (ครั้งที่ 2) 0 500.00 500.00
20 ก.ค. 66 2.2 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 2 0 500.00 500.00
23 ก.ค. 66 3.1 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 1 0 125.00 125.00
14 ส.ค. 66 1.3 การออกกำลังกายเต้นบาร์สโลบ (ครั้งที่ 3) 0 500.00 500.00
24 ส.ค. 66 2.3 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 3 0 500.00 500.00
15 ก.ย. 66 1.4 การออกกำลังกายรำวงมาตราฐาน(ครั้งที่ 4) 0 500.00 500.00
19 ก.ย. 66 3.2 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 2 0 125.00 125.00
21 ก.ย. 66 2.4 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 4 0 500.00 500.00
25 ต.ค. 66 กิจกรรมเยี่ยมบ้าน ครั้งที่ 3 0 125.00 125.00
27 ต.ค. 66 2.5 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 5 0 500.00 500.00
9 พ.ย. 66 3.3 เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านและติดเตียงในชุมชน ครั้งที่ 4 0 125.00 125.00
16 พ.ย. 66 2.6 ส่งเสริมสุขภาพจิต ครั้งที่ 6 0 500.00 500.00
5 สสส.สนับสนุนงบเพิ่มเติมเพื่อบริหารจัดการจำนวน 10,000 บาท กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 10 10,000.00 10 10,000.00
6 - 7 มิ.ย. 66 เวทีประฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 0 1,552.00 1,552.00
10 ก.ค. 66 ค่าทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ 0 1,000.00 1,000.00
1 ส.ค. 66 ค่าปั้มตรายางโครงการ 0 535.00 535.00
5 ส.ค. 66 ค่าจัดทำป้ายบันไดผลลัพท์ 0 500.00 500.00
23 ส.ค. 66 ค่าทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 0 2,000.00 2,000.00
14 ก.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายกฏกติกาในการมีส่วนร่วมของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ 0 1,000.00 1,000.00
25 ก.ย. 66 อบรมเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้และติดตามผลลัพธ์โครงการย่อย ARE ครั้งที่ 1/2566 3 776.00 776.00
10 ม.ค. 67 ป้ายไวนิลบันไดผลลัพธ์โครงการพร้อมขาตั้ง X stand 0 850.00 850.00
15 ม.ค. 67 ค่าเดินทางไปราชการประชุมโครงการ อบจ.แผนงานร่วมทุน 5 1,248.00 1,248.00
17 ม.ค. 67 ค่าเดินทางไปราชการประชุมโครงการ อบจ แผนงานร่วมทุน 2 539.00 539.00
6 กิจกรรมที่ 5 การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรัง ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 65 10,800.00 1 10,800.00
18 ส.ค. 66 การอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ติดสังคมและมีโรคเรื้อรัง ในเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ครั้งที่ 1 65 10,800.00 10,800.00
7 กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมการทำน้ำมันไพล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 11,650.00 1 11,650.00
9 พ.ย. 66 การทำน้ำมันไพล 50 11,650.00 11,650.00
8 กิจกรรมที่ 3 การสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad@home กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 16 3,840.00 2 3,840.00
18 ก.ค. 66 การสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad@home 16 1,920.00 1,920.00
1 ธ.ค. 66 การสำรวจและจัดทำข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนและติดตามพฤติกรรมสุขภาพโดยใช้โปรแกรม Imad@home ครั้งที่ 2 0 1,920.00 1,920.00
9 กิจกรรมที่ 8 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 9,870.00 1 9,870.00
30 พ.ย. 66 การติดตามการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุ 50 9,870.00 9,870.00
10 กิจกรรมที่ 9 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 8,500.00 1 8,500.00
4 ธ.ค. 66 เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงาน 50 8,500.00 8,500.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 500.00 2 563.21
13 พ.ย. 66 ถอนเงินค่าเปิดบัญชี 0 500.00 500.00
26 ม.ค. 67 จ่ายดอกเบี้ยให้กองคลัง 0 0.00 63.21

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

11.1 เกิดกลไกการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ   11.2 ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ทักษะการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ   11.3 เกิดกิจกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพผู้สูงอายุอย่างสม่ำเสมอ   11.4 ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 พ.ค. 2566 14:59 น.