directions_run

โครงการส่งเสริมสร้างสุขภาวะกาย ใจ ของผู้สูงอายุ บ้านสุไหงปาแน หมู่ 1 ต.บานา อ. เมืองปัตตานี จ.ปัตตานี

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการส่งเสริมการสร้างสุขภาวะกาย ใจ ของผู้สูงอายุ บ้านสุไหงปาแน หมู่ 1 ต.บานา อ.เมือง จ.ปัตตานี รหัสโครงการ 65-P1-0068-030 มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้มีคณะทำงานในการดูแลผู้สูงอายุอย่างมีส่วนร่วมชุมชนบ้านสุไหงปาแน หมู่ 1 ต.บานา อ.เมือง จ.ปัตตานี และ 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาวะกาย ใจ ที่ดีขึ้น มีระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 96,150 บาท ด้วยทีมผู้นำชุมชนบ้านสุไหงปาแนในการดำเนินโครงการฯ ได้มีการแต่งตั้งคณะทำงานในการดำเนินกิจกรรมในโครงการ ภายใต้กลุ่มเป้าหมายประกอบหลักเป็นผู้สูงอายุ 30 คน และผู้ดูแล 30 คน รวมทั้งหมด 60 คน โดยมีกิจกรรมในการดำเนินงาน 10 กิจกรรม มีผลลัพธ์ในการกิจกรรม ดังนี้ 1) เกิดคณะทำงานในการขับเคลื่อนงานผู้สูงอายุในพื้นที่ จำนวน 15 คน ประกอบด้วย อสม. 5 คน บัณฑิตอาสา 1 คน ตัวแทนผู้สูงอายุ 2 คน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4 คน คณะกรรมการมัสยิด 2 คน ตัวแทนเยาวชน 1 คน และมีที่ปรึกษา เจ้าหน้าที่ รพ.สต. ผู้ใหญ่บ้าน และเจ้าหน้าที่ ศวชต. มอ.ปัตตานี และมีข้อตกลงร่วมกัน 4 ข้อ คือ (1) มีการพบปะกันเดือนละ 1 ครั้ง (2) เข้าร่วมฟังบรรยายธรรมทุก ๆ วันศุกร์แรกของเดือน (3) มีการออกกำลังกายด้วย โยคะมุสลีมะห์ และยางยืดเพื่อสุขภาพร่วมกัน 2 เดือนครั้ง และต่างคนต่างออกกำลังกายที่บ้าน และ (4) คณะทำงานผู้สูงอายุลงเยี่ยมเยียนบ้านผู้สูงอายุ 3 เดือนครั้ง 2) ผู้สูงอายุผู้สูงอายุ 30 คน แบ่งเป็น ผู้หญิง 27 คน ผู้ชาย 3 คน ร้อยละ 90 มีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพ การออกกำลังกายด้วยโยคะมุสลีมะห์ และยางยืด และการเตรียมตัวเข้าสู่สังคมสูงวัย และมีทักษะในการดูแลสุขภาวะทางกาย ใจ และร้อยละ 40 ไม่มีความเครียดเพราะได้พบเจอกับเพื่อน ๆ ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น การอบรม การออกกำลังกาย การฟังบรรยายธรรม เดือนละ 1 ครั้ง 3) มีพื้นที่ในการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพร่วมกันในชุมชน 2 พื้นที่ คือ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนศรัทธา บ้านสุไหงปาแน และมัสยิดอัล-ฮุสนา สุไหงปาแน หมู่ 1 ต.บานา อ.เมือง จ.ปัตตานี และ 4) ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีขึ้น คือ (1) ผู้สูงอายุ 27 คน ร้อยละ 90 มีการออกกำลังกาย 2-3 วัน/สัปดาห์ ระยะเวลา 15 -30 นาที/สัปดาห์ เช่น ยางยืด โยคะมุสลีมะห์ เดินเบาๆ ที่บ้าน วิ่งไปมา เดินบนกะลา เล่นยาง เป็นต้น (2) ผู้สูงอายุ 12 คน ร้อยละ 40 ไม่มีความเครียด เพราะได้มาทำกิจกรรมร่วมกัน มีการพบปะกันเยี่ยมบ้านกัน (3) ผู้สูงอายุ 27 คน ร้อยละ 90 มีความสุขในทุกวัน เพราะ ได้พบปะกัน ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง มีลูกเป็นแรงจูงใจ ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ ลูกมีงานทำ

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ