directions_run

โครงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กตำบลตรัง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบริโภคอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กตำบลตรัง
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนสร้างเสริมสุขภาวะพื้นที่จังหวัดปัตตานี
ภายใต้องค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดปัตตานี
รหัสโครงการ 65-P1-0068-010
วันที่อนุมัติ 1 พฤษภาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2566 - 29 กุมภาพันธ์ 2567
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสธารณสุขตำบลตรัง
ผู้รับผิดชอบโครงการ อัซมัน สือรี
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0879678485
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ asmansueree@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นายอานัติ หวังกุหลำ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 1 พ.ค. 2566 31 ธ.ค. 2566 80,000.00
2 1 ม.ค. 2567 2 ก.พ. 2567 1 ม.ค. 2567 29 ก.พ. 2567 20,000.00
รวมงบประมาณ 100,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

  1. หลักการเหตุผล / ความสำคัญของปัญหา/ การวิเคราะห์สถานการณ์
    จากคำกล่าวที่ว่า “โภชนาการที่ดีและสุขภาพที่แข็งแรงเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะส่งเสริมให้เด็กทุกคนเจริญเติบโตและพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ เป็นคนที่มีคุณภาพของสังคมไทย พบว่า เด็กไทยในวัยเรียนจำนวนมากยังขาดแคลนอาหารบริโภคไม่ถูกหลักโภชนาการ และมีปัญหาทั้งการขาดสารอาหารและบริโภคเกินพอดี จนทำให้น้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ มีปัญหาทุพโภชนาการ อ้วน ผอม และเตี้ย ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต สมอง และการเรียนรู้ของเด็ก ทำให้เด็กไม่สามารถพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพ อาหารและโภชนาการมีความสำคัญต่อสุขภาพ โรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เป็นภาระสุขภาพและสาเหตุความสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรลำดับต้นๆ ของประชากรไทย ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด และมะเร็ง ล้วนเกี่ยวข้องกับอาหารและภาวะโภชนาการเกิน ด้านพฤติกรรมบริโภคผักผลไม้ จากการศึกษาของโครงการติดตามพฤติกรรมการกินผักและผลไม้ของคนไทย โดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2561 พบว่า เด็กไทยอายุ 2 - 14 ปี กินผักและผลไม้โดยเฉลี่ยเพียงวันละ 1 ส่วน ร้อยละ 62.1 ของเด็กวัยนี้กินผักและผลไม้น้อยกว่า 2 ส่วนต่อวัน ข้อมูลจากการสำรวจนี้ชี้ว่า เด็กไทยมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้นและยังบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอ ด้านภาวะโภชนาการ จากสถานการณ์โภชนาการและความเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการบริโภค พ.ศ.2558-2559 พบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีในประเทศไทยประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการที่สำคัญ ได้แก่ ร้อยละ 6.7 มีภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ในระดับปานกลางถึงรุนแรง โดยเด็กในครัวเรือนยากจนจะมีภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ สูงกว่าเด็กในฐานะอื่น และจากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจสุขภาพคนไทย ครั้งที่ 5 พ.ศ.2557 พบว่า เด็กไทยอายุ 6-12 ปี ทุก 1 ใน 10 คน มีภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน
    โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตรัง ตั้งอยู่ที่หมู่ 2 ตำบล ตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี มีทั้งหมด 4 หมู่บ้าน มีโรงเรียน 2 แห่ง จำนวนเด็กอายุ 0-5 ปี มี 293 คน และมีเด็กที่ผอมเตี้ยจำนวน 55 คน จากการระดมความคิดเห็นของกลุ่มแกนนำ พบว่า สาเหตุที่เด็กมีปัญหาทุพโภชนาการ เนื่องจากเด็กไม่ทานอาหารเช้าที่เป็นมื้อหลักแต่มักกินขนมแทน เด็กเบื่ออาหาร ผู้ปกครองให้รับประทานอาหารที่สะดวกซื้อและง่าย ผู้ปกครองไม่เห็นความสำคัญของภาวะโภชนาการ ผู้ปกครองไม่ดูแลความสะอาดทำให้เด็กอุจจาระร่วงบ่อย สาเหตุที่เกิดจากสภาพสังคม พบว่า ผู้ปกครองเด็กต้องออกไปทำงานนอกบ้าน อยู่กับ ตายาย แม่เลี้ยงเดี่ยว
    /ซึ่งไม่สามารถ… ซึ่งไม่สามารถจัดการเรื่องอาหารได้อย่างเต็มที่ด้วยเวลาที่มีจำกัด จึงต้องเน้นความสะดวก ร้านค้าจำหน่ายสินค้าที่มีประโยชน์ต่อเด็กยังมีน้อย นอกจากนี้ยังพบว่า อาหารที่โรงเรียนไม่กินไม่อร่อยทำให้กินได้น้อย และผู้นำชุมชนยังให้ความสำคัญต่อประเด็นโภชนาการในเด็กน้อย คณะทำงานด้านสุขภาพโดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ผู้นำศาสนา เห็นว่า ควรสร้างความรู้ความเข้าใจให้ผู้ปกครอง แกนนำที่เกี่ยวข้องต่อประเด็นโภชนาการอาหารที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กเพื่อให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมตามช่วงวัย
stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อให้เกิดกลไกของชุมชนที่มีการขับเคลื่อน ติดตาม การส่งเสริมผู้ปกครองต่อการจัดอาหารที่เหมาะต่อเด็กตามช่วงวัย 0 - 5 ปี อย่างมีส่วนร่วม
  1. มีคณะทำงานเฝ้าระวังติดตามอย่างน้อย 1 คณะ ประกอบด้วย อสม. เจ้าหน้าที่ รพ.สต ตัวแทน ผู้ปกครอง และผู้นำศาสนา
  2. มีข้อมูลและการคืนข้อมูลการติดตามการจัดอาหารที่เหมาะสมตามวัยของเด็ก
  3. มีแผนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
  4. มีการติดตามหนุนเสริมให้กำลังใจครอบครัว
0.00
2 2. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจต่อโภชนาการอาหารที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กและสามารถจัดอาหารที่เหมาะสม ตามวัยของเด็ก
  1. จำนวนผู้ปกครอง มีความรู้ในจัดอาหารที่เหมาะสม ร้อยละ 50
  2. มีข้อตกลงในการจัดอาหารที่เหมาะสม
    3.ร้อยละ 50 ของครอบครัวมีการจัดอาหารที่เหมาะสม อย่างน้อย 1 มื้อ ต่อวัน
  3. มีครอบครัวต้นแบบ อย่างน้อย 20 ครอบครัว
  4. ร้อยละ 50 ของเด็กที่เข้าร่วม ได้รับประทานอาหารที่เหมาะสมตามวัย อย่างน้อยจำนวน 1 มื้อต่อวัน
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง 55 -
กลุ่มเป้าหมายหลัก 55 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณพ.ค. 66มิ.ย. 66ก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67
1 ประชุมชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการ(1 มิ.ย. 2566-3 มิ.ย. 2566) 9,000.00                    
2 อบรมอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก แก่ผู้ปกครอง(1 มิ.ย. 2566-6 ก.ค. 2566) 9,800.00                    
3 ประชุมกำหนดกติกากลุ่ม(1 มิ.ย. 2566-9 มิ.ย. 2566) 9,200.00                    
4 จัดตั้ง LINE group ผู้ปกครองเพื่อติดตาม(1 มิ.ย. 2566-9 มิ.ย. 2566) 2,000.00                    
5 สาธิตเมนูอาหารและแลกเปลี่ยนการจัดอาหาร(1 มิ.ย. 2566-3 มิ.ย. 2566) 11,600.00                    
6 รับสมัครครอบครัวต้นแบบ(1 มิ.ย. 2566-29 ก.พ. 2567) 2,950.00                    
7 แลกเปลี่ยนเรียนรู้(1 มิ.ย. 2566-29 ก.พ. 2567) 4,000.00                    
8 ประชุมคณะทำงาน(2 มิ.ย. 2566-2 มิ.ย. 2566) 7,500.00                    
9 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการบริโภคอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการ(2 มิ.ย. 2566-2 มิ.ย. 2566) 4,000.00                    
10 คืนข้อมูลแก่ผู้ปกครอง(2 มิ.ย. 2566-2 มิ.ย. 2566) 3,750.00                    
11 สสส.สนับสนุนการบริหารจัดการ(2 มิ.ย. 2566-2 มิ.ย. 2566) 10,000.00                    
12 AREร่วมกับพี่เลี้ยง(6 มิ.ย. 2566-3 ม.ค. 2567) 0.00                    
13 จัดมหกรรม เด็กน้อย น้ำหนักตามเกณฑ์(1 พ.ย. 2566-31 ม.ค. 2567) 16,700.00                    
14 ติดตามประเมินผล(1 ธ.ค. 2566-29 ก.พ. 2567) 1,500.00                    
15 สรุปการดำเนินงาน(1 ธ.ค. 2566-31 ม.ค. 2567) 8,000.00                    
รวม 100,000.00
1 ประชุมชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 90 9,000.00 1 9,000.00
2 มิ.ย. 66 ประชุมชี้แจงประชาสัมพันธ์โครงการ 90 9,000.00 9,000.00
2 อบรมอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก แก่ผู้ปกครอง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 9,800.00 1 9,800.00
2 มิ.ย. 66 อบรมอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก แก่ผู้ปกครอง 80 9,800.00 9,800.00
3 ประชุมกำหนดกติกากลุ่ม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 9,200.00 1 9,200.00
2 มิ.ย. 66 ประชุมกำหนดกติกากลุ่ม 80 9,200.00 9,200.00
4 จัดตั้ง LINE group ผู้ปกครองเพื่อติดตาม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 2,000.00 1 2,000.00
2 มิ.ย. 66 จัดตั้ง LINE group ผู้ปกครองเพื่อติดตาม 0 2,000.00 2,000.00
5 สาธิตเมนูอาหารและแลกเปลี่ยนการจัดอาหาร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 11,600.00 1 11,600.00
2 มิ.ย. 66 สาธิตเมนูอาหารและแลกเปลี่ยนการจัดอาหาร 80 11,600.00 11,600.00
6 รับสมัครครอบครัวต้นแบบ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 2,950.00 1 2,950.00
2 มิ.ย. 66 รับสมัครครอบครัวต้นแบบ 50 2,950.00 2,950.00
7 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 4,000.00 1 4,000.00
2 มิ.ย. 66 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 80 4,000.00 4,000.00
8 ประชุมคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 7,500.00 5 7,500.00
2 มิ.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน 1 15 3,000.00 3,000.00
2 มิ.ย. 66 - 24 ส.ค. 66 ประชุมคณะทำงาน 2 0 1,125.00 1,125.00
2 มิ.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน 3 0 1,125.00 1,125.00
2 มิ.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน 4 0 1,125.00 1,125.00
2 มิ.ย. 66 ประชุมคณะทำงาน 5 0 1,125.00 1,125.00
9 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการบริโภคอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 4,000.00 2 4,000.00
2 มิ.ย. 66 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการบริโภคอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการ 1 15 2,000.00 2,000.00
2 มิ.ย. 66 ลงพื้นที่เก็บข้อมูลการบริโภคอาหารส่งเสริมภาวะโภชนาการ 2 0 2,000.00 2,000.00
10 คืนข้อมูลแก่ผู้ปกครอง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 3,750.00 3 3,750.00
2 มิ.ย. 66 คืนข้อมูลแก่ผู้ปกครอง 1 50 1,250.00 1,250.00
2 มิ.ย. 66 คืนข้อมูลแก่ผู้ปกครอง 2 0 1,250.00 1,250.00
2 มิ.ย. 66 คืนข้อมูลแก่ผู้ปกครอง 3 0 1,250.00 1,250.00
11 สสส.สนับสนุนการบริหารจัดการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 14 10,000.00 14 10,000.00
2 มิ.ย. 66 สสส.สนับสนุนเพิ่มเติม 1 0 10,000.00 -
6 - 7 มิ.ย. 66 เวทีปฐมนิเทศและพัฒนาศักยภาพผู้รับทุน 3 0.00 540.00
6 มิ.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายสถานที่ปลอดบุหรี่และป้ายชื่อโครงการ 0 0.00 1,000.00
6 มิ.ย. 66 ค่าจัดทำป้ายบรรไดผลลัพธ์ 0 0.00 1,000.00
21 มิ.ย. 66 ค่าเดินทางไปเปิดบัญชีโครงการ 3 0.00 608.00
4 ก.ค. 66 ค่าเดินทางไปเบิกเงินครั้งที่1 2 0.00 488.00
28 ส.ค. 66 จัดทำตรายางโครงการ 0 0.00 535.00
25 ก.ย. 66 ARE แผนร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่1 3 0.00 496.00
16 - 17 ม.ค. 67 ประชุมปิดโครงการ 3 0.00 221.00
17 ม.ค. 67 จัดทำTemplateพร้อมขาตั้ง 0 0.00 1,200.00
17 ม.ค. 67 ค่าเดินทางและเบี้ยเลี้ยง 0 0.00 488.00
17 ม.ค. 67 ค่าเดินทางไปเบิกเงินครั้งที่3 0 0.00 488.00
17 ม.ค. 67 ค่าเดินทางไปเบิกเงินคร้งที่4 0 0.00 488.00
1 ก.พ. 67 ARE แผนร่วมทุน กับ ผู้รับทุน ครั้งที่2 0 0.00 448.00
1 ก.พ. 67 ค่าจัดทำรายงานและอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบรายงานความก้าวหน้าออนไลน์ 0 0.00 2,000.00
12 AREร่วมกับพี่เลี้ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0.00 4 0.00
6 มิ.ย. 66 AREร่วมกับพี่เลี้ยง 1 0 0.00 0.00
6 มิ.ย. 66 AREร่วมกับพี่เลี้ยง 2 0 0.00 0.00
6 มิ.ย. 66 AREร่วมกับพี่เลี้ยง 3 0 0.00 0.00
6 มิ.ย. 66 AREร่วมกับพี่เลี้ยง 4 0 0.00 0.00
13 จัดมหกรรม เด็กน้อย น้ำหนักตามเกณฑ์ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 16,700.00 1 16,700.00
16 พ.ย. 66 จัดมหกรรม เด็กน้อย น้ำหนักตามเกณฑ์ 80 16,700.00 16,700.00
14 ติดตามประเมินผล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 15 1,500.00 1 1,500.00
2 มิ.ย. 66 ติดตามประเมินผล 15 1,500.00 1,500.00
15 สรุปการดำเนินงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 80 8,000.00 1 8,000.00
2 มิ.ย. 66 สรุปการดำเนินงาน 80 8,000.00 8,000.00
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 0.00 2 562.84
24 ม.ค. 67 ถอนเงิน เปิดบัญชี 0 0.00 500.00
24 ม.ค. 67 จ่าย ดอกเบี้ยให้กองคลัง 0 0.00 62.84

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ระบุผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดำเนินโครงการ
  2. เมื่อโครงการแล้วเสร็จ หรือเมื่อทุนของ สสส. หมดลง จะมีการดำเนินการต่อเนื่องหรือไม่ อย่างไร
  3. ระบุวิธีการขยายผลจากการดำเนินโครงการ และชุมชน หรือผู้อื่นจะใช้ประโยชน์จากผลของโครงการนี้อย่างไร   กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม ภาวะโภชนาการในเด็ก ผอมเตี้ยลดน้อยลง เมื่อโครงการเสร็จสิ้น การดำเนินการจะขับเคลื่อนให้ระดับหมู่บ้าน ภายใต้คณะกรรมการหมู่บ้าน โดยมีผู้ใหญ่บ้านเป็นประธาน ส่วนงบประมาณทีจะขอสนับสนุน จะเข้าสู่กระบวนการ ของบกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตรัง ต่อไป
stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 2 มิ.ย. 2566 10:34 น.