directions_run

อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

สมาคมรักษ์ทะเลไทย


“ อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย เยาว์ธานี

ชื่อโครงการ อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ S-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กรกฎาคม 2566 ถึง 13 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ สมาคมรักษ์ทะเลไทย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ S-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กรกฎาคม 2566 - 13 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก สมาคมรักษ์ทะเลไทย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ซึ่งสถานการณ์สัตว์น้ำทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ย้อนกลับไปประมาณ 50-60 ปี มีความอุดมสมบูรณ์ของสัตว์น้ำมากกว่า 70 ชนิด ออกทำประมงห่างจากฝั่ง 1-3 กิโลเมตร (บริเวณเกาะ เกาะแมว) ใรดำรงชีวิตอยู่ของมนุษย์ ประชาคมโลกได้ให้ความสำคัญของอาหาร ที่มีส่วนสำคัญส่งผลต่อการพัฒนานำไปสู่การมีสุขภาพดี คุณภาพชีวิตที่ดี โดยเฉพาะอาหารทะเล เป็นแหล่งโปรตีที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง
  ปัญหาการลดลงของทรัพยากรสัตว์น้ำลดลงอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง พื้นที่ทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา อดีตถึงปัจจุบัน ภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504-2509) ที่รัฐบาลได้ส่งเสริมให้มีการเครื่องมือประมงอวนลาก ขนาดตาถี่ การใช้เครื่องมือจับสัตว์น้ำที่ทันสมัยมากขึ้น โดยที่ส่วนใหญ่เป็นสัตว์น้ำวัยอ่อนประมาณ 60-70 % ซึ่งส่วนใหญ่นำไปทำเป็นอาหารสัตว์ การทำประมงแบบมือใครยาวสาวได้สาวเอา พฤติกรรมกาใช้ รทำประมงขาดความรับผิดชอบ เกิดความขัดแย้งการทำประมงจับสัตว์น้ำพื้นที่อนุรักษ์ฟื้นฟูฯ ไม่เคารพกติกา ข้อบังคับทางกฎหมาย ส่งผลให้เกิดการทำลายระบบห่วงโซ่อาหารท้องทะเลไทย สัตว์น้ำวัยอ่อนถูกทำลายอย่างสิ้นเชิง สัตว์น้ำลดลงอย่างรวดเร็ว
ปัญหาความขัดแย้งกรณีการเข้าไปจับสัตว์น้ำในพื้นที่ซั้งกอ (บ้านปลา) ระหว่างนักตกปลา กับชาวประมง สาเหตุจากนักตกปลา ที่มีอยู่จำนวนมาก มาจากหลากหลายพื้นที่ เข้าไปตกปลาบริเวณซั้งกอของชาวประมง ซึ่งนักตกปลาคิดไปเองว่าซั้งกอในทะเล ใครๆก็เข้าไปจับสัตว์น้ำได้ แต่ความเป็นจริงซั้งกอเหล่านั้นที่ชาวประมงระดมทุน ลงมือทำกันเอง เป็นซั้งกอของบุคคลบ้าง เป็นของกลุ่มชาวประมงบ้าง (ซั้งกอมีเจ้าของ) ปัญหาดังกล่าวหากไม่ได้ให้ทั้งสองกลุ่มได้พูดคุยทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน และไม่มีกติกาการจับสัตว์น้ำแล้ว ปัญหาดังกล่าวก็ยังไม่หมดไป สมาคมส่งเสริมการตกปลาเชิงอนุรักษ์จังหวัดสงขลา ปัจจุบันมีสมาชิก จำนวน 30 คน ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบจากการลดลงของสัตว์น้ำเป็นอย่างมาก ซึ่งเกิดผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงชีวิต อาชีพรายได้ ของชาวประมง นักตกปลา และอันจะก่อให้เกิดส่งผลกระทบต่อความมั่นคงด้านอาหารในอนาคต สมาคมฯเห็นว่าการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำมาอย่างต่อเนื่อง ภาคีร่วมกับชาวประมง นักตกปลา องค์กรหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน โดยการทำซั้งกอ (บ้านปลา) ในพื้นที่นิเวศทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา การกำหนดแนวเขตอนุรักษ์ห่างจากฝั่งออกไป 5 - 6 กิโลเมตร บริเวณเกาะหนู เกาะแมว ตำแหน่งพิกัด เหนือ 14 ตะวันออก 36 สร้างความร่วมมือทำซั้งกอ อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ร่วมกันกำหนดกติกา มีกลไกเฝ้าระวัง การจับสัตว์น้ำปฏิบัติตามกฎกติกาและการเข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูร่วมกัน ซึ่งสามารถแก้ปัญหาความขัดแย้งการจับสัตว์น้ำในพื้นที่อนุรักษ์ของนักตกปลากับชาวประมงที่ผ่านมาได้กระบวนการทั้งหมดนี้จะเป็นจุดเริ่มสำคัญในการสร้างการมีส่วนร่วม เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรสัตว์น้ำ สามารถสร้างอาชีพ รายได้ ตลอดจนสามารถสร้างความมั่นคงด้านอาหารทะเลของคนทั้งประเทศ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเกิดกลไกคณะทำงานร่วมระหว่างสมาคมตกปลาเชิงอนุรักษ์กับชาวประมงในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทะเลในพื้นที่ตำบลบ่อยาง 2.เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ 3. เพื่อให้ทะเลในพื้นที่ตำบลบ่อยางมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น 4.เพื่อหนุนเสริมให้มีการ บริหารจัดการโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปฐมนิเทศแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะชุมชนประมงพื้นบ้าน
  2. รายงานระบบออนไลน์
  3. จัดทำป้ายโลโก้ สสส. ลดละเลิก เหล้า บุหรี่
  4. ประชุมทำความเข้าใจที่มาและวัตถุประสงค์โครงการฯ
  5. ประชุมคณะทำงานฯ
  6. ประชุมคณะทำงานร่วมกับหน่วยงานกำหนดกติกาการอนุรักษ์ฟื้นฟูฯ(วางซั้งกอ)
  7. เวทีประชุมสรุปผลการดำเนินงานเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)
  8. ประชุมสรุปติดตามการดำเนินงานและการเรียนรู้ (ARE)ร่วมกับสมาคมรักษ์ทะเลไทยและสสส.
  9. ปฏิบัติการวางซั้งกอ
  10. ลงพื้นที่ติดตามการปฏิบัติตามกติกาและการเก็บข้อมูลสัตว์น้ำฯ
  11. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะทำงานจำนวน 10 คน คณะทำงานมีองค์ประกอบมาทั้งจากสมาคม ชาวประมง และภาคีในพื้นที่ มีแผนการทำงานที่ชัดเจน 2เกิดซั้งกอ จำนวน 5 กอ พื้นที่อนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำทะเลอ่าวไทยตำบลบ่อยาง 3.สัตว์น้ำจากการอนุรักษ์ฟื้นฟู รายได้ดีขึ้น 4.ผู้่ร่วมดำเนินโครงการเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดละเลิกแอลกอฮอร์ และบริโภคอาหารที่ปลอดภัย เพื่อเกิดสุขภาวะที่ดี .


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะชุมชนประมงพื้นบ้าน

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปฐมนิเทศแผนงานร่วมทุนกับสสส.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เรียนรู้ขั้นตอนการทำแผนงาน วิธีการดำเนินงาน ให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์เป้าหมาย

 

80 0

2. รายงานระบบออนไลน์

วันที่ 31 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม
สรุป
บันทึกข้อมูลลงระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงาน 6 กิจกรรม ภายใต้การดำเนินโครงการฯ และกิจกรรมร่วมกับส่วนกลาง (สสส.สมาคมรักษ์ทะเลไทย)  ลงระบบเวปไซส์  ทั้งข้อมูล เนื้อหา รูปกิจกรรม  ผลลัพธ์ (ข้อมูลผลการดำเนินงาน)  ผลผลิต (ข้อมูลเชิงปริมาณ)
ตามรายละเอียดในระบบเวปไซส์ (ออนไลน์)

 

2 0

3. รายงานระบบออนไลน์

วันที่ 31 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม
สรุป
บันทึกข้อมูลลงระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงาน 6 กิจกรรม ภายใต้การดำเนินโครงการฯ และกิจกรรมร่วมกับส่วนกลาง (สสส.สมาคมรักษ์ทะเลไทย)  ลงระบบเวปไซส์  ทั้งข้อมูล เนื้อหา รูปกิจกรรม  ผลลัพธ์ (ข้อมูลผลการดำเนินงาน)  ผลผลิต (ข้อมูลเชิงปริมาณ)
ตามรายละเอียดในระบบเวปไซส์ (ออนไลน์)

 

2 0

4. จัดทำป้ายโลโก้ สสส. ลดละเลิก เหล้า บุหรี่

วันที่ 15 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำป้ายโลโก้ สสส. ลดละเลิก เหล้า บุหรี่  ประกอบการทำกิจกรรม ดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายโลโก้  สสส. ลดละเลิก  เหล้า บุหรี่  ขนาด  3x2 เมตร และ 1.40x1.0 เมตร

 

40 0

5. ประชุมทำความเข้าใจที่มาและวัตถุประสงค์โครงการฯ

วันที่ 19 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาหารือ ประสานงาน จัดเตรียมการประชุม สรุป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทำความเข้าใจที่มาที่ไปของโครงการ ให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมได้รับรู้ข้อมูล เกิดการพูดคุยแลกเปลี่ยนถึงกิจกรรมการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ ที่ผ่านมา สำเร็จและมีปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น
2. ในการดำเนินโครงการ จะต้องมีคณะทำงานชุดหนึ่ง ที่ประกอบด้วยคณะทำงานในโครงการฯ  จึงเกิดการแต่งตั้งคณะทำงานขึ้นมา จำนวน 11 คน เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานร่วมกับกลุ่มเป้าหมายฯ 3. การประชุมทำให้เกิดการวางแผนการดำเนินโครงการ ร่วมกันของคณะทำงาน คนในชุมชน และหน่วยงานเกี่ยวข้อง

 

40 0

6. ประชุมคณะทำงานฯ

วันที่ 1 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานงาน  ประเด็นการพูดคุย ประชุม  สรุป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. วางแผนการดำเนินงาน (กิจกรรม) แนวทางหนทางสู่ความสำเร็จ การคาดการณ์ปัญหาอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น 2.  การเฝ้าระวัง การใช้ประโยชน์ บริเวณพื้นที่อนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ  การมีชุดเฝ้าระวังฯ  ทำสัญลักษณ์(แผนที่ ป้าย ) บริเวณพื้นที่วางซั้ง  การเผยแพร่ข้อมูลกติกา และบทลงโทษ ผู้ที่ฝ่าฝืนกติกา

 

20 0

7. ประชุมคณะทำงานร่วมกับหน่วยงานกำหนดกติกาการอนุรักษ์ฟื้นฟูฯ(วางซั้งกอ)

วันที่ 19 กันยายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาหารือ  ประสาน  เตรียมการ  ประชุม  สรุป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แลกเปลี่ยนการดำเนินงานอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ (ซั้งกอ) บทเรียน  ความสำเร็จ  ปัญหา
  2. กำหนดกติกา การเฝ้าระวัง  ชุดเฝ้าของคณะทำงาน หน่วยงาน  ที่ชัดเจน  (การใช้ประโยชน์  ข้อห้าม และบทลงโทษ)
  3. วางแผนการทำซั้งกอ  จุดพิกัด  การเก็บข้อมูลสัตว์น้ำบริเวณซั้งกอ  และการประเมิน

 

21 0

8. เวทีประชุมสรุปผลการดำเนินงานเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE)

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมผลการดำเนินโครงากรฯ (กิจกรรม ผลลัพธ์ และตัวชี้วัด)  รายงานการเงิน (บิลใบเสร็จ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงาน การจัดกิจกรรม ผลที่เกิดขึ้น (ผลลัพธ์  ตัวชี้วัด) เช่น เกิดคณะทำงานจำนวน 9 คน ที่ปรึกษา จำนวน 4 คน (บันไดขึ้นที่ 1)  การทบทวนผลการดำเนินงาน(บทเรียน) เกิดกติกา การอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ ร่วมกัน เครือข่าย และ หน่วยงาน (บันไดขี้นที่ 2 )  แผนการดำเนินงาน กิจกรรมการอนุรักษ์ฟื้นฟู  การเก็บข้อมูลสัตว์น้ำฯ การบริโภคที่เกิดสุขภาวะที่ดี  การสรุปผลการดำเนินโครงการฯ ให้บรรลุผลสำเร็จ ตามวัตถุประสงค์และระยะเวลาดำเเนินโครงการ (บันไดขั้นที่ 3 และที่ 4 )

 

0 0

9. ประชุมสรุปติดตามการดำเนินงานและการเรียนรู้ (ARE)ร่วมกับสมาคมรักษ์ทะเลไทยและสสส.

วันที่ 29 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาหารือ เตรียมตัวแทนเข้าร่วม เตรียมเนื้อหานำเสนอ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สรุป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1  มีการประชุม เกิดคณะทำงานจำนวน 13 คน ในจำนวน 13 คนมีแกนนำใหม่ 4  คน คือ 1. นายวิชัย เยาว์ธานี  2.นายศิวกร เขมะไชยเวช(แกนนำคนรุ่นใหม่) 3. นายสายัญ  ทองศรี  4.น.ส.อมรามณี ทองเนื้อแปด  (มีความรู้กระตือรือร้น มีความรับผิดชอบ มีน้ำใจ มีความชำนาญประสานงาน การเจรจา  )
  2  เกิดการร่วมมือการมีส่วนร่วมต่อการดำเนินงาน 2.) มีภาคีในส่วนของภาครัฐ สถาบันการศึกษา  ภาคเอกชน ภาคประชาชน  จำนวน 4 คน  (ทช. สมาคมรักษ์ทะเลไทย .ม.ทักษิณ ภาคประชาชน)
  3  มีการประชุมร่วมกันอย่างน้อนเดือนละ 1ครั้ง  เพื่อรับทราบผลการดำเนินโครงการ  การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน  เช่น    3.1  แผนการวางซั้งกอ จำนวน 5 กอๆละ 10 ต้น  จุดพิกัด เหนือ 14 ตะวันออก 36 ทะเลอ่าวไทย ต.บ่อยาง อ.เมืองสงขลา
  4  ทบทวนกติกาอนุรักษ์  พื้นที่วางซ์้งกอ  ( ห้ามทำประมงใช้เครื่องมือจับสัตว์น้ำวัยอ่อนทุกชนิด,  ห้ามผูกเรือกับซื้งกอ (สัญลักษณ์ธงสีชมพูซั้งกอนักตกปลา ใช้ประโยชน์ร่วมกัน.)   5 บริโภคสัตว์น้ำที่จับเอง(โดยเบ็ด) ตามการออกตกปลาแต่ละครั้ง  มีการแบ่งปัน และขายปลา ขึ้นอยู่กับปริมาณที่ตกได้  ปลาน้ำเค็ม เช่น  ปลาอินทรี  ปลาโฉมงาม  ปลากะมง  ปลากะพง  ปลาเก๋า ปลาสาก  ปลาน้ำจืด เช่น ปลาชะโด  ปลาช่อน
ปัญหาอุปสรรค ต่อการวางซั้งกอ และการตกปลา  เหมื่อนกันคือ ทะเลมีคลื่นลมแรง

 

0 0

10. ปฏิบัติการวางซั้งกอ

วันที่ 9 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ปรึกษาหารือ (ทำวันไหน ,ทำอย่างไร ,ทำร่วมกับใคร)
  2. ประสานงาน (กลุ่มเข้าร่วม, การจัดหาวัสดุอุปกร์,การขนส่งรถยนต็และเรือ)
  3. เตรียมวัสดุอุปกรณ์ (เตรียมอุปกรณ์ครบ จุดนำขึ้นเรือเรือ ,อาหารน้ำ)
  4. ปฏิบัติการวางซั้งกอ (คนพร้อม ใจพร้อม ปฏิบัติการวางซั้งกอ)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความร่วมมือจากองค์กรหน่วยงาน  (สมาคมส่งเสริมการตกปลาเชิงอนุรักษ์จังหวัดสงขลา,สมาคมรักษ์ทะเลไทย,ศูนย์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และเครือข่ายอนุรักษ์ฯทะเลสาบสงขลา
  2. วางซั้งกอ จำนวน 5 กอๆละ 10 ต้น ในทะเลอ่าวไทยจังหวัดสงขลา บริเวณเกาะหนู เกาะแมว  ระดับน้ำลึก 10 เมตร  พิกัด เหนือ 16 ตะวันออก 35
    3.  สัตว์น้ำเข้ามาอาศัยบริเวณซั้งกอ เช่น ปลาอินทรี  ปลาสาก  ปลาโฉมงาม หอยแมลงภู่  ปลาเก๋า ปลาทู  เป็นต้น

 

30 0

11. ลงพื้นที่ติดตามการปฏิบัติตามกติกาและการสำรวจเก็บข้อมูลสัตว์น้ำฯ

วันที่ 11 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ปรึกษาหารือ วางแผน ประสานงาน ปฏิบัติการติดตามกติกา สำรวจข้อมูลสัตว์น้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กติกาพื้นที่อนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ ทำซั้งกอ (บ้านปลา) ได้ข้อตกลงร่วมกัน โดยใช้ธงสีต่างๆ เป็นสัญลักษณ์บ่งบอกให้รู้ว่ามีกติกาแตกต่างกันอย่างไร คือ 1. “ธงสีชมพู”เป็นซั้งกอที่เกิดจากความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะชาวประมง กับนักตกปลา ได้ประโยชน์จากปริมาณสัตว์น้ำที่เพิ่มขึ้น บริเวณซั้งกอ แต่ห้ามทำการประมง ใช้เครื่องมือประมงจับสัตว์น้ำวัยอ่อนอย่างเด็ดขาด 2. “ธงสีเขียว” เป็นซั้งกอที่เกิดจากชาวประมง นักตกปลา ชาวประมงจับสัตว์น้ำ  แต่ห้ามทำการประมง ใช้เครื่องมือประมงจับสัตว์น้ำวัยอ่อนอย่างเด็ดขาด 3. “ธงสีดำ” เป็นซั้งกอส่วนบุคคล ห้ามบุคคลอื่นเข้ามาทำการประมงจับสัตว์น้ำบริเวณซั้งกอ 4. ห้ามผูกเรือกับซั้งกออย่างเด็ดขาด 5. ห้ามทำประมงใช้เครื่องมือจับสัตว์น้ำวัยอ่อน การสำรวจเก็บข้อมูลสัตว์น้ำ ในพื้นที่วางซั้งกอ (บ้านปลา) โดยการดำน้ำสำรวจ และ สังเกตจากการจับปลาได้บริเวณซั้งกอ (ตกปลาหรือ การใช้เครื่องมือประมงประเภทอื่นๆ) โดยสามารถระบุได้ว่า ก่อนการวางซั้งกอ นั้น สัตว์น้ำจะอยู่เพ่นพ่านในทะเล ไม่มีแหล่งที่แน่นอน (เปรียบเหมือนไม่มีบ้านให้อยู่อาศัย) นั่นเอง  แต่หลังจากวางซั้งกอ ในพิกัดจุดต่างๆ เช่น จุดที่ 1 พิกัดวางซั้งกอ เหนือ 14 ตะวันออก 30 จุดที่ 2 พิกัดวางซั้งกอ เหนือ 13 ตะวันออก 32 จุดที่ 3 พิกัดวางซั้งกอ เหนือ 14 ตะวันออก 40 และจุดที่ 4 พิกัด เหนือ 14 ตะวันออก 4 และจุดที่ 5 บริเวณหัวเขื่อนสงขลา (ด้านทิศตะวันออก พระบรมรูปกรมหลวงชุมพรฯ)  ปลาหลากหลายชนิดเข้ามาอาศัย เช่น  ปลาสาก ปลาอินทรี ปลาเก๋า ปลาแดง ปลาทู ปลาโฉมงาม ปลากุเรา ปลาอีคุด ปลาใบปอ ปลาขี้จีน ปลาข้างเหลือง ปลาหางแข็ง ปลาทราย

 

10 0

12. สรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 11 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดประเด็น วันเวลา สถานที่ ประสานงาน เตรียมการ ประชุม สรุป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดกลไกคณะทำงาน และหน่วยงานเครือข่ายดำเนินโครงการ
1. นายวิชัย เยาว์ธานี ผู้รับผิดชอบโครงการ 2. นายสายัญ ทองศรี ผู้ช่วยฯ 3. นายชาตรี กระดิษฐ์ ประสานงาน 4. นายศิวกร เขมะไชยเวช การเงิน/รายงานระบบออนไลน์ 5. นางสาวสิรภัทร วงศ์มณฑา เลขานุการ 6. นางอมรามณี ทองเนื้อแปด ผู้ช่วยเลขานุการ 7. นายปรมินทร์ ปัดสา ผู้ช่วยรายงานลงระบบออนไลน์
8. นายอนุรักษ์ สังข์กูล สถานที่ 9. นายสมพร สวนมอญ ผู้ข่วยสถานที่
10. นายสิทธิโสฬส เอกทัตร ปฏิคม 11. นายปิยโชติ อินทรานิวาส สื่อสารองค์กร
ที่ปรึกษา 1. สมาคมรักษ์ทะเลไทย 2. สำนักงานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 5 สงขลา 3. มหาวิทยาลัยทักษิณ เกิดการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ โดยการวางซั้งกอในทะเล จำนวน 5 กอๆละ 10 ต้น ห่างจากฝั่ง 3 - 4 กิโลเมตร บริเวณเกาะหนู ตำแหน่งพิกัด เหนือ 16 ตะวันออก 35 และพิกัดวางซั้งกอ เหนือ 14 ตะวันออก 34
    หลังจากมีการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ โดยทำซั้งกอ (บ้านปลา) ปลาบางชนิดมีปริมาณเพิ่มขึ้น ได้แก่ ปลาสาก ปลาแดง ปลาทู ปลาอินทรี ปลาเก๋า ปลาแดง ปลาทู ปลาโฉมงาม ปลากุเรา ปลาอีคุด ปลาใบปอ ปลาช่อนทะเล ปลากะมง ปลาหางแข็ง ปลาทราย ปลาข้างเหลือง

  ้เกิดกติกาอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำบริเวณซั้งกอ โดยใช้ธงเป็นสัญลักษณ์จุดวางซั้งกอ ดังนี้ 1. “ธงสีชมพู”เป็นซั้งกอที่เกิดจากความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะชาวประมง กับนักตกปลา ได้ประโยชน์จากปริมาณสัตว์น้ำที่เพิ่มขึ้น บริเวณซั้งกอ แต่ห้ามทำการประมง ใช้เครื่องมือประมงจับสัตว์น้ำวัยอ่อนอย่างเด็ดขาด 2. “ธงสีเขียว” เป็นซั้งกอที่เกิดจากชาวประมง นักตกปลา ชาวประมงจับสัตว์น้ำ แต่ห้ามทำการประมง ใช้เครื่องมือประมงจับสัตว์น้ำวัยอ่อนอย่างเด็ดขาด 3. “ธงสีดำ” เป็นซั้งกอส่วนบุคคล ห้ามบุคคลอื่นเข้ามาทำการประมงจับสัตว์น้ำบริเวณซั้งกอ 4. ห้ามผูกเรือกับซั้งกออย่างเด็ดขาด 5. ห้ามทำประมงใช้เครื่องมือจับสัตว์น้ำวัยอ่อน เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย ส่งผลดีต่อสุขภาพร่างกาย และการดำรงชีวิต โดยเฉพาะการบริโภคอาหารทะเล ที่จับได้เองเป็นส่วนใหญ่ เพราะมั่นใจถึงความสด สะอาด ไม่มีการใช้สารเคมีใดๆ

 

22 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเกิดกลไกคณะทำงานร่วมระหว่างสมาคมตกปลาเชิงอนุรักษ์กับชาวประมงในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทะเลในพื้นที่ตำบลบ่อยาง 2.เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ 3. เพื่อให้ทะเลในพื้นที่ตำบลบ่อยางมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น 4.เพื่อหนุนเสริมให้มีการ บริหารจัดการโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : เกิดกลไก คณะทำงาน การขับเคลื่อนการดำเนินโครงการ และที่ปรึกษา จำนวน 14 คน เกิดการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ กิจกรรมวางซั้งกอ จำนวน 5 กอ พิกัด 14/36 38/40 ในทะเลอ่าวไทย ต.บ่อยาง จ.สงขลา เกิดการเพิ่มขึ้นของสัตว์น้ำ จับสัตว์น้ำได้ มีรายได้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจับควบคู่การอนุรักษ์ การทำประมงอย่างรับผิดชอบ บริโภคอาหารทะเลปลอดภัย สุขภาวะที่ดี เกิดการดำเนินงาน ที่มีคณะทำงานส่วนของประชาชน และหน่วยงานเกี่ยวข้อง การดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีแผน วิธีการ เพื่อสำเร็จตามเป้าหมายร่วมกัน
0.00

ระหว่างการดำเนินโครงการ หากผู้รับผิดชอบโครงการไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้ จะส่งผลต่อการเบิกถอนเงิน มาทำกิจกรรมการดำเนินโครงการ ได้ตามระยะเวลาการดำเนินโครงการ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเกิดกลไกคณะทำงานร่วมระหว่างสมาคมตกปลาเชิงอนุรักษ์กับชาวประมงในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทะเลในพื้นที่ตำบลบ่อยาง
2.เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ 3. เพื่อให้ทะเลในพื้นที่ตำบลบ่อยางมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น 4.เพื่อหนุนเสริมให้มีการ บริหารจัดการโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปฐมนิเทศแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาวะชุมชนประมงพื้นบ้าน (2) รายงานระบบออนไลน์ (3) จัดทำป้ายโลโก้ สสส. ลดละเลิก เหล้า  บุหรี่ (4) ประชุมทำความเข้าใจที่มาและวัตถุประสงค์โครงการฯ (5) ประชุมคณะทำงานฯ (6) ประชุมคณะทำงานร่วมกับหน่วยงานกำหนดกติกาการอนุรักษ์ฟื้นฟูฯ(วางซั้งกอ) (7) เวทีประชุมสรุปผลการดำเนินงานเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (8) ประชุมสรุปติดตามการดำเนินงานและการเรียนรู้ (ARE)ร่วมกับสมาคมรักษ์ทะเลไทยและสสส. (9) ปฏิบัติการวางซั้งกอ (10) ลงพื้นที่ติดตามการปฏิบัติตามกติกาและการเก็บข้อมูลสัตว์น้ำฯ (11) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรสัตว์น้ำทะเลอ่าวไทย ตำบลบ่อยาง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ S-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชัย เยาว์ธานี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด