directions_run

การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนากลไกการร่วมของชุมชนในการจัดทรัพยากรชายฝั่งทะเลของชุมชนปากพะยูน
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะทำงานที่มีทั้งผู้นำชุมชน ชาวประมง หน่วยงานรัฐ หน่วยงานท้องถิ่นเข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำของชุมชนปากพะยูน 1.2 มีแผนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 1.3 มีแผนฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล คณะทำงานมีศักยภาพในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลโดยกระบวนการมีส่วนร่วม

เกิดกลไกร่วมการขับเคลื่อนงานที่สามารถขับเคลื่อนงานการจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเลของชุมชนปากพะยูนได้
- เกิดคณะทำงานจำนวน 22 คนที่มีตัวแทนผู้นำชุมชน /ชาวประมงจำนวน 7 คน ผู้นำกลุ่มองค์กรในชุมชนจำนวน 7 คน ตัวแทนทั้งภถิ่นจำนวน 4 คน ภาคีความร่วมมือเช่นโรงเรียน ประมง 5 คน
- มีแผนการทำงานที่มีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับสถานการณ์ - คณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจและศักยภาพในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลโดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม คิด วิเคราะห์ ขับ่เคลื่อนการทำงานที่มีประสิทธิภพา

 

 

2 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของชุมชนให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้นเอื้อกับการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรสัตว์น้ำ
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดข้อมูลทรัพยากรของชุมชน 2.2 มีเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 จุด 2.3 มีบ้านปลาอย่างน้อย 2 จุด เพื่อเป็นแหล่งที่อยู่และแหล่งอาหารของสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น 2.4 เกิดกฎกติการ่วมในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำของชุมชน มีกลุ่มที่สามารถเป็นกลไกการติดตามได้อย่างน้อย 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเยาวชน กลุ่มแกนนำ กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มภาคีภายนอก

เกิดการปรับสภาพแวดล้องที่เอื้อต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาต การอนุรักษ์ฟู้นฟูทรัพยากรทางทะเลให้มีความอุดมสมบูรณ์ ตัวชี้วัดที่เกิดความเปลี่ยแปลงคือ - มีข้อมูลทรัพยากรของชุมชุมชนก่อนเริ่มโครงการ -มีเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นจำนวน 1 ขุดมีขนาดพื้นที่

 

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพกระบวนการเรียนรู้แกนนำชุมชนและเยาวชนในการเรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูน
ตัวชี้วัด : 3.1 แกนนำชุมชนและเยาวชนมีความรู้ ทักษะและสามารถถ่ายทอดในการปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนได้อย่างน้อย 20 คน 3.2 เกิดประมงอาสาดูแลเขตฯไม่ต่ำกว่า 15 คน 3.3 เกิดแหล่งเรียนรู้ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเลชุมชนปากพะยูน 3.4 มีคนในชุมชนที่ร่วมเรียนรู้และมีความเข้าใจการดูแลรักษาทรัพยากรอย่างน้อย 100 คน

 

 

 

4 เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วรนร่วมในการจัดการทรัพยากร
ตัวชี้วัด : 4.1 แกนนำกลุ่มจำนวน 50 คน มีการเปลี่ยนแปลงพฟติกรรมการบริโภคอาหารทะเลและอาหารในชุมชนที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ จากผลผลิตการประมงที่ปลอดภัย

ชาวประมงและ่คนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนบริโภคสัตว์น้ำที่มีกระบวนการปลอดภัยมากขึ้นเอื้อต่อสุขภาวะ

  • ชาว่ประมงพื้นบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นครัวเรือนละ 300 บาท