directions_run

การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการเดือนละ 1 ครั้ง 1 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

ปฐมนิเทศโครงการ 13 ก.ค. 2566 13 ก.ค. 2566

 

  1. กล่าวต้อนรับโดย นายบรรจง นะแส
  2. ชี้แจงบทบาทของสมาคมรักษ์ทะเลไทยภายใต้แผนงานร่วมทุนระหว่างกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและ สมาคมรักษ์ทะเลไทย
  3. ให้ความรู้การออกแบบการเก็บข้อมูลเชิงผลลัพธ์ ในการดำเนินโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์ ใช้เครื่องมือบันไดผลลัพธ์
  4. ให้ความรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบรายงานออนไลน์ รายงานการเงินและเอกสารการเงิน
  5. ลงนามในสัญญาโครงการของโครงการย่อย

 

  1. ได้มีความรู้ความเข้าใจบทบาทของสมาคมรักษ์ทะเลไทย และแผนงานร่วมทุนกับ สสส. เสริมสร้างสุขภาวะของชุมชนชาวประมง
  2. มีความรู้และสามารถนำความรู้ใปใช้การดำเนินงานโครงการ การบริหารจัดการ การจัดทำเอกสารและรายงานการเงิน ผ่านระบบออนไลน์
  3. มีความรู้บันไดผลลัพธ์ การออกแบบเก็บข้อมูลเชิงผลลัพธ์ เพื่อให้เห็นผลการดำเนินการโครงการเป็นระยะ ใช้ในการดำเนินงานโครงการให้บรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ ผลลัพธ์กำหนดไว้
  4. ได้สัญญาโครงการ ที่ได้ลงน้ำระหว่างพื้นที่กับ แผนงานร่วมทุนฯ

 

กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร 23 ก.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา 8 ส.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจ สถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน 14 ก.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 7 เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน 18 ต.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน 1 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 6 ทำขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ 1 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 8 การจัดทำบ้านปลา 1 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 9 เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง 1 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

เวทีประเมินเพื่อเรียนรู้และพัฒนา (ARE) 8 พ.ย. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 10 การพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน 1 ม.ค. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล 1 ก.พ. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 12 เวทีปิดโครงการ 1 เม.ย. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 13 การเข้าร่วมกิจกรรม สสส. กิจกรรมบริหารจัดการโครงการ 1 เม.ย. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการครั้งที่ 1 23 ก.ค. 2566 23 ก.ค. 2566

 

1.  รายงานผลการเข้าร่วมกิจกรรมการปฐมนิเวศโครงการ  และรายละเอียดแผนงานร่วมทุนฯ
2.  การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 09.00-12.00 น. ณ โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร 3. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

วางแผนกลไกการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน

 

กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร 23 ก.ค. 2566 23 ก.ค. 2566

 

  1. เชิญแกนนำชุมชน ผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะทำงาน จำนวน 25 คนมาร่วมประชุม โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 13.30.00-15.30 น. ณ โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร
  2. วิทยากรที่มีความสามารถมาเป็นวิทยากรกระบวนการให้ความรู้ในการจัดทำแผนดำเนินงานอนุรักษ์และฟื้นฟู  วิทยากรมีทดลอดทำรายละเอียดแผนปฏิบัติการ
  3. คณะทำงานร่วมกันออกแบบแผนการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู โดยมีวิทยากรเป็นที่ปรึกษา แนะนำ

 

มีการรร่วมมืิอกันของคณะทำงาน ในการคิดค้นรูปแบบใหม่ของการทำบ้านปลา มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมแบ่งเป็นห้องๆ ยาวตามชายฝั่ง ห่างจากชายฝั่งประมาณ 30 เมตร และยังมีการใช้สภากาแฟในการแลกเปลี่ยนการทำงานร่วมกัน และเริ่มมีการประชาสัมพันธ์สื่อออนไลน์สังคมต่างๆเพิ่มขึ้น

 

กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา 8 ส.ค. 2566 8 ส.ค. 2566

 

  1. คณะทำงานร่วมออกแบบและวางแผนการเก็บข้อมูลปริมาณและชนิดของสัตว์น้ำ
    2.ดำเนินการเก็บข้อมูลปริมาณและชนิดของสัตว์น้ำ ก่อนการทำบ้านปลา
  2. วิเคราะห์ข้อมูลสัตว์น้ำ
  3. วางแผนการทำบ้านปลาหลังจากวิเคราะห์ข้อมูล

 

  1. เกิดข้อมูลทรัพยากรของชุมชน
  2. ชนิดและปริมาณของสัตว์น้ำที่สำรวจเจอก่อนทำบ้านปลาของชาวประมง 1 คน ต่อ 1 วัน โดยประมาณ คือ 1.1 กุ้งก้ามกรามจำนวน 20 ตัว น้ำหนัก 1.2 กิโลกรัม 1.2 ปลากระบอก จำนวน 3 ตัว น้ำหนัก 0.5 กิโลกรัม 1.3 ปลาหัวโม้ง 10 ตัว น้ำหนัก 1 กิโลกรัม 1.4 ปลาขี้ตัง วันละ ไม่เกิน 5 ตัว 1.5 ปลาทรายวันละ ไม่เกิน 5 ตัว
  3. ได้ข้อมูลปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ทำให้มีสัตว์น้ำ ไว้บริโภคในครัวเรือน มีความปลอดภัย ไม่ใช้สารเคมีในการรักษาความสดของสัตว์น้ำ และมีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างน้อยครัวเรือนละ 300 บาท ราคาสัตว์น้ำถูกลงคนในชุมชนได้บริโภคสัตว์น้ำทะเลปลอดภัยเพิ่มขึ้น

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 14 ส.ค. 2566 14 ส.ค. 2566

 

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

วางแผนการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูนในครั้งถัดไป

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 8 ก.ย. 2566 8 ก.ย. 2566

 

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

มีการพัฒนา วางแผน กลไก การร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน ในเดือนถัดไป

 

กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน 14 ก.ย. 2566 14 ก.ย. 2566

 

  1. การพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์การทำประมงและการจัดการทรัพยากรกรทางทะเล วิเคราะห์ถึงจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรคในการดำเนินการที่ผ่านมา 2.  ชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียดโครงการ นำเสนอบันใดผลลัพธ์  ประกอบด้วย  ผลลัพธ์  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ และกิจกรรมที่ออกแบบให้การดำเนินงานสำเร็จตามบันใดผลลัพธ์ในแต่ละระยะ
  2. ทบทวนและจัดตั้งคณะทำงานในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน  พร้องทั้งร่วมแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางความร่วมมือในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ที่ส่งต่อสู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เข้ามาเรียนรู้
  3. หน่วยงานรัฐมีการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านนโยบายที่มีความสนใจ เยาวชนเริ่มให้ความสนใจในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม

 

1.คนในชุมชน นักเรียนเยาวชน คณะทำงานและภาคีที่เข้าร่วมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญ มีความตั้งใจร่วมการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วยความรู้เขตอนุรักษ์ การทำบ้านปลาเน้นใช้วัสดุในชุมชน การกำหนดกติกาชุมชนเน้นมีส่วนร่วมกำหนดขอชาวประมง คนในชุมชน  กลไกเฝ้าระวัง ประมงอาสาซึ่งมีการออกตรวจ
2. เกิดคณะทำงาน 23 คน ผู้นำชุมชน 7 คน ชาวประมง 7 คน หน่วยงานรัฐ 5 หน่วยงาน หน่วยงานท้องถิ่น 4 คน เข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน
2. มีการวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคที่ผ่านมา เพื่อวางแผนการทำงานต่อไป
3. มีการวางแผนการทำงานและฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล คือ คณะทำงานร่วมกันขับเคลื่อนการทำงาน จัดทำข้อมูลทรัพยากรและการเปลี่ยนแปลงการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งของเยาชนและคนในชุมชนบ้านกลาง ปรับปรุงแนวเขตอนุรักษ์ สร้างบ้านปลาเพิ่ม พัฒนาโมเดลของเยาวชนร่วมกับคณะทำงานมาใช้ ติดตามและเฝ้าระวัง พัฒนาศักยภาพแกนนำ และประมงอาสาเพิ่ม
4. เกิดแผนปฏิบัติการด้านนโยบายการจัดการทรัพยากรร่วม และเยาวชนเริ่มให้ความสนใจมีการสมัครใจเข้ามาร่วมเรียนรู้และร่วมการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 18 ต.ค. 2566 18 ต.ค. 2566

 

  1. ผู้่รับผิดชอบโครงการทบทวนโครงการ วัตถุประสงค์ แลกเปลี่ยนแนวทางการทำงาน ทบทวน แผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 09.00-12.00 น. ณ ศาลาประชุม ชุมชนบ้านกลาง
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน และแบ่งบทบาทการทำงานของคณะทำงานในการดำเนินการโครงการ
  3. กำหนดแผนกิจกรรมเดือนตุลาคม
  4. การจัดทำรายงานการประชุม

 

  1. คณะทำงานที่ประกอบด้วยตัวแทนแกนนำชาวประมง ท้องถิ่น ท้องที่ โรงเรียน เยาวชน จำนวน 20 คนที่มีความตั้งใจพร้อมร่วมในการดำเนินการเกิดผลลัพธ์ตามที่ได้กำหนด ได้แบ่งบทบาทการทำงานตามความเหมาะ ประกอบด้วย ทีมประสานงาน ทีมข้อมูล ทีมติดตามประเมินผล ทีมส่งเสริมการอนุรักษ์
  2. คณะทำงานได้ร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น กำหนดแผนการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน ปรับปฏิทินการทำงานโครงการที่สอดคล้องกับสถานการณ์

 

เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน 18 ต.ค. 2566 18 ต.ค. 2566

 

  1. เชิญผู้ที่เกี่ยวข้อง อาสาสมัคร ตัวแทนองค์กร จำนวน 25 คน มาร่วมกิจกรรม โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 13.30-15.30 น. ณ ศาลาประชุม ชุมชนบ้านกลาง
  2. ร่างกติกาชุมชน เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมเพื่อประชาพิจารณ์
  3. ประชุมชุมชนเพื่อพิจารณาและเห็นชอบในการประกาศใช้

 

มีการทบทวนกฎกติกาเดิมในชุมชน และเพิ่มกฎกติกาเรื่องขนาดของตาแหให้ใช้ตั้งแต่ขนาดตั้งแต่ 3.5 เซนติเมตร ขึ้นไป

 

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน 1 พ.ย. 2566 1 พ.ย. 2566

 

  1. หาพื้นที่ต้นแบบในการศึกษาดูงาน
  2. ศึกษากรอบและรายละเอียดการศึกษาดุงานที่สามารถนำมาปรับใช้กับพื้นที่ตนเองได้

 

เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์พื้นที่ต้นแบบในการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำและทรัพยากรชายฝั่งได้อย่างยั่งยืน โดยเน้น กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนนำกิจกรรมของชุมชนอื่นมาศึกษาเพื่อวางแผนต่อยอดและพัฒนา และมีการนำกรอบรายละเอียดของโครงการของชุมชนที่ประสบความสำเร็จแล้วมาวางแผนต่อยอดและพัฒนา ส่งผลให้คณะทำงานมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ชายฝั่งมากขึ้น

 

ขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ 1 พ.ย. 2566 1 พ.ย. 2566

 

1.การประชุมเพื่อวางแผนการขยายเขตอนุรักษ์ 2.การจัดทำแนวเขตอนุรักษ์พร้อมติดตั้งป้ายป้ายเขตอนุรักษ์ 3.การปักป้ายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ

 

  1. เกิดพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำที่ชัดเจน และเป็นที่รับรู้ของชุมชน
  2. ปริมาณพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น

 

จัดทำบ้านปลา 1 พ.ย. 2566 1 พ.ย. 2566

 

  1. การประชุมเพื่อกำหนดจุดการทำบ้านปลา
  2. การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การทำบ้านปลา
  3. การจัดทำบ้านปลา จำนวน 2 หลัง

 

  1. ปริมาณพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มมากขึ่น
  2. เกิดแหล่งที่อยู่และแหล่งอาหารของสัตว์น้ำ
  3. จัดทำบ้านจำนวน 2 หลัง

 

เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง 1 พ.ย. 2566 1 พ.ย. 2566

 

  1. เชิญแกนนำชุมชน ผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะทำงาน จำนวน25คนมาร่วมประชุม
  2. เชิญวิทยากรที่มีความสามารถมาเป็นวิทยากรกระบวนการ
  3. ในเวทีร่วมกันออกแบบกลไกและแผนการเฝ้าระวังงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู
  4. ลงพื้นที่ ตามแผนการเฝ้าระวัง

 

เกิดกลไกในการทำงานตามแผนเฝ้าระวังงการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และการจัดการทรัพยากรทางทะเล

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 12 พ.ย. 2566 12 พ.ย. 2566

 

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

เกิดแผนงานในการดำเนินงานกิจกรรมครั้งถัดไป

 

เวทีประเมินเพื่อนการเรียนรู้และปนะเมิน (ARE) 13 พ.ย. 2566 13 พ.ย. 2566

 

  1. ประสานงานเชิญคณะทำงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ชาวประมง ผู้นำชุมชน
  2. ทบทวนกิจกรรมที่ดำเนินการมาแล้ว เพื่อหาผลลัพธ์และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง
  3. วางแผล พัฒนา กลไก การทำงานที่ยังไม่ดำเนินการเพื่อให้ตรงตามวัตถุประสงค์

 

  1. เกิดคณะทำงานจำนวน 23 คน ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนจำนวน 7 คน ชาวประมง 7 คน หน่วยงานรัฐ 5 หน่วยงาน หน่วยงานท้องถิ่น 4 คน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น วางแผน ดำเนินโครงการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรชายฝั่ง สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและนักเรียน
  2. มีความร่วมมือ มีการคิดค้นแบบใหม่ของบ้านปลา
  3. มีสภากกาแฟในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงาน
  4. มีการประชมสัมพันธ์มากขึ้นทั้งในสื่อสังคมออนไลน์ และปากต่อปาก
  5. หน่วยงานรัฐเริ่มให้ความสนใจ และเริ่มวางแผนนโยบายการทำงานด้านทรัพยากรทางทะเล
  6. มีการเก็บข้อมูลปริมาณ และชนิดของสัตว์น้ำก่อนการทำบ้านปลา
  7. มีการทบทวนกฎกติกาเดิม และร่างเพิ่มเติม เรื่องของเครื่องมือประมง ( แหใช้ขนาดตา 3 เซนติเมตร ขึ้นไป, อวน3 เซนติเมตร ขึ้นไป )
  8. มีภาคีเครือข่ายร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงาน เช่น เทศบาลตำบลปากพะยูน สำนักงานประมง โรงเรียนเกาะหมาก

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 10 ธ.ค. 2566 10 ธ.ค. 2566

 

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

มีการแลกเปลี่ยน แสดงความคิดเห็นที่ถึงการจัดกิจกรรมที่ผ่านมา และวางแผนการจัดกิจกรรมในครั้งถัดไป

 

พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน 1 ม.ค. 2567 1 ม.ค. 2567

 

  1. การประชุมเพื่อร่วมกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของเยาวชน
  2. การพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชนโดยการเสริมกระบวนการเรียนรู้เชิงปฏิบัติการและการผลิตสื่อสร้างสรรค์รณรงค์การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล

 

  1. เกิดกลุ่มแกนนำเยาวชนที่มีความรู้ ทักษะ และสามารถถ่ายทอดการอนุรักษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 20 ม.ค. 2567 20 ม.ค. 2567

 

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีแผนงานในการดำเนินงานในกิจกรรมต่อไป

 

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูมรัพยากรทางทะเล 1 ก.พ. 2567 1 ก.พ. 2567

 

  1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ปฏิบัติการแก่เยาวชน และผู้ที่สนใจทั้งภายในและภายนอกชุมชน 2.การจัดทำสื่อสร้างสรรค์ในการการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล
  2. การวิเคราะห์ประมวลผลเกี่ยวกับความพึงพอใจและสิ่งที่ผู้มาเรียนรู้ได้รับจากการเข้ามาเรียน

 

เกิดแหล่งเรียนรู้ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชายฝั่งทะเลชุมชนปากพะยูน

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 11 ก.พ. 2567 11 ก.พ. 2567

 

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

มีการ ติดตาม ประเมินผลการทำงานที่ผ่านมา ร่วมการวิเคราะห์การดำเนินงานในครั้งถัดไป

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 10 มี.ค. 2567 10 มี.ค. 2567

 

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

สรุป ประเมินผล ในการทำงานที่ผ่านมา ร่วมกันวิเคราะห์ สิ่งที่เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อร่วมกันพ๊ัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

 

เวทีปิดโครงการ 1 เม.ย. 2567 1 เม.ย. 2567

 

  1. จัดเวทีสรุปผลดำเนินโครงการในรอบ 1 ปี
  2. ร่วมมือกับท้องถิ่น ท้องที่ภาคีเครือข่ายเพื่อมาพัฒนาฟื้นฟูอย่างยั่งยืนตลอดไป

 

สรุปผลการดำเนินงานใน 1 ปีที่ผ่านมา

 

การบริหารจัดการโครงการ 1 เม.ย. 2567 1 เม.ย. 2567

 

  1. ค่าอินเตอร์เน็ตเพื่อจัดทำรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบออนไลน์
  2. ค่าจัดทำป้ายเขตปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และป้ายชื่อโครงการ สสส. สำหรับติดในสถานที่จัดกิจกรรม
  3. ค่าเดินทางและค่าที่พักเพื่อเข้าร่วมประชุมกับ สสส. หรือ หน่วยจัดการระดับจังหวัด

 

มีการจัดการบริหารโครงการที่โปร่งใส และเป็นรูปธรรม

 

กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ 7 เม.ย. 2567 7 เม.ย. 2567

 

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

สุปผลการจัดกิจกรรมของโครงการ