task_alt

การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)

ชุมชน อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

รหัสโครงการ S-022/2566 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2566 ถึง 30 เมษายน 2567

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กรกฎาคม 2566 ถึงเดือน ตุลาคม 2566

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปฐมนิเทศโครงการ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. ได้มีความรู้ความเข้าใจบทบาทของสมาคมรักษ์ทะเลไทย และแผนงานร่วมทุนกับ สสส. เสริมสร้างสุขภาวะของชุมชนชาวประมง
  2. มีความรู้และสามารถนำความรู้ใปใช้การดำเนินงานโครงการ การบริหารจัดการ การจัดทำเอกสารและรายงานการเงิน ผ่านระบบออนไลน์
  3. มีความรู้บันไดผลลัพธ์ การออกแบบเก็บข้อมูลเชิงผลลัพธ์ เพื่อให้เห็นผลการดำเนินการโครงการเป็นระยะ ใช้ในการดำเนินงานโครงการให้บรรลุตามเป้าหมายวัตถุประสงค์ ผลลัพธ์กำหนดไว้
  4. ได้สัญญาโครงการ ที่ได้ลงน้ำระหว่างพื้นที่กับ แผนงานร่วมทุนฯ

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. กล่าวต้อนรับโดย นายบรรจง นะแส
  2. ชี้แจงบทบาทของสมาคมรักษ์ทะเลไทยภายใต้แผนงานร่วมทุนระหว่างกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพและ สมาคมรักษ์ทะเลไทย
  3. ให้ความรู้การออกแบบการเก็บข้อมูลเชิงผลลัพธ์ ในการดำเนินโครงการมุ่งเน้นผลลัพธ์ ใช้เครื่องมือบันไดผลลัพธ์
  4. ให้ความรู้การบริหารจัดการโครงการ ระบบรายงานออนไลน์ รายงานการเงินและเอกสารการเงิน
  5. ลงนามในสัญญาโครงการของโครงการย่อย

 

3 0

2. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการครั้งที่ 1

วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วางแผนกลไกการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

1.  รายงานผลการเข้าร่วมกิจกรรมการปฐมนิเวศโครงการ  และรายละเอียดแผนงานร่วมทุนฯ
2.  การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 09.00-12.00 น. ณ โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร 3. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

15 0

3. กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร

วันที่ 23 กรกฎาคม 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีการรร่วมมืิอกันของคณะทำงาน ในการคิดค้นรูปแบบใหม่ของการทำบ้านปลา มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมแบ่งเป็นห้องๆ ยาวตามชายฝั่ง ห่างจากชายฝั่งประมาณ 30 เมตร และยังมีการใช้สภากาแฟในการแลกเปลี่ยนการทำงานร่วมกัน และเริ่มมีการประชาสัมพันธ์สื่อออนไลน์สังคมต่างๆเพิ่มขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เชิญแกนนำชุมชน ผู้ที่เกี่ยวข้อง คณะทำงาน จำนวน 25 คนมาร่วมประชุม โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 13.30.00-15.30 น. ณ โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร
  2. วิทยากรที่มีความสามารถมาเป็นวิทยากรกระบวนการให้ความรู้ในการจัดทำแผนดำเนินงานอนุรักษ์และฟื้นฟู  วิทยากรมีทดลอดทำรายละเอียดแผนปฏิบัติการ
  3. คณะทำงานร่วมกันออกแบบแผนการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟู โดยมีวิทยากรเป็นที่ปรึกษา แนะนำ

 

25 0

4. กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา

วันที่ 8 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. เกิดข้อมูลทรัพยากรของชุมชน
  2. ชนิดและปริมาณของสัตว์น้ำที่สำรวจเจอก่อนทำบ้านปลาของชาวประมง 1 คน ต่อ 1 วัน โดยประมาณ คือ 1.1 กุ้งก้ามกรามจำนวน 20 ตัว น้ำหนัก 1.2 กิโลกรัม 1.2 ปลากระบอก จำนวน 3 ตัว น้ำหนัก 0.5 กิโลกรัม 1.3 ปลาหัวโม้ง 10 ตัว น้ำหนัก 1 กิโลกรัม 1.4 ปลาขี้ตัง วันละ ไม่เกิน 5 ตัว 1.5 ปลาทรายวันละ ไม่เกิน 5 ตัว
  3. ได้ข้อมูลปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น ทำให้มีสัตว์น้ำ ไว้บริโภคในครัวเรือน มีความปลอดภัย ไม่ใช้สารเคมีในการรักษาความสดของสัตว์น้ำ และมีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิมอย่างน้อยครัวเรือนละ 300 บาท ราคาสัตว์น้ำถูกลงคนในชุมชนได้บริโภคสัตว์น้ำทะเลปลอดภัยเพิ่มขึ้น

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. คณะทำงานร่วมออกแบบและวางแผนการเก็บข้อมูลปริมาณและชนิดของสัตว์น้ำ
    2.ดำเนินการเก็บข้อมูลปริมาณและชนิดของสัตว์น้ำ ก่อนการทำบ้านปลา
  2. วิเคราะห์ข้อมูลสัตว์น้ำ
  3. วางแผนการทำบ้านปลาหลังจากวิเคราะห์ข้อมูล

 

15 0

5. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 14 สิงหาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วางแผนการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูนในครั้งถัดไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

15 0

6. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 8 กันยายน 2566 เวลา 12:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีการพัฒนา วางแผน กลไก การร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน ในเดือนถัดไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. การจัดทำแผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน
  3. การจัดทำรายงานการประชุม

 

15 0

7. กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน

วันที่ 14 กันยายน 2566 เวลา 13:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.คนในชุมชน นักเรียนเยาวชน คณะทำงานและภาคีที่เข้าร่วมมีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญ มีความตั้งใจร่วมการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งแบบมีส่วนร่วม ประกอบด้วยความรู้เขตอนุรักษ์ การทำบ้านปลาเน้นใช้วัสดุในชุมชน การกำหนดกติกาชุมชนเน้นมีส่วนร่วมกำหนดขอชาวประมง คนในชุมชน  กลไกเฝ้าระวัง ประมงอาสาซึ่งมีการออกตรวจ
2. เกิดคณะทำงาน 23 คน ผู้นำชุมชน 7 คน ชาวประมง 7 คน หน่วยงานรัฐ 5 หน่วยงาน หน่วยงานท้องถิ่น 4 คน เข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน
2. มีการวิเคราะห์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคที่ผ่านมา เพื่อวางแผนการทำงานต่อไป
3. มีการวางแผนการทำงานและฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล คือ คณะทำงานร่วมกันขับเคลื่อนการทำงาน จัดทำข้อมูลทรัพยากรและการเปลี่ยนแปลงการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งของเยาชนและคนในชุมชนบ้านกลาง ปรับปรุงแนวเขตอนุรักษ์ สร้างบ้านปลาเพิ่ม พัฒนาโมเดลของเยาวชนร่วมกับคณะทำงานมาใช้ ติดตามและเฝ้าระวัง พัฒนาศักยภาพแกนนำ และประมงอาสาเพิ่ม
4. เกิดแผนปฏิบัติการด้านนโยบายการจัดการทรัพยากรร่วม และเยาวชนเริ่มให้ความสนใจมีการสมัครใจเข้ามาร่วมเรียนรู้และร่วมการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่ง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. การพูดคุยเกี่ยวกับสถานการณ์การทำประมงและการจัดการทรัพยากรกรทางทะเล วิเคราะห์ถึงจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรคในการดำเนินการที่ผ่านมา 2.  ชี้แจงทำความเข้าใจรายละเอียดโครงการ นำเสนอบันใดผลลัพธ์  ประกอบด้วย  ผลลัพธ์  ตัวชี้วัดผลลัพธ์ และกิจกรรมที่ออกแบบให้การดำเนินงานสำเร็จตามบันใดผลลัพธ์ในแต่ละระยะ
  2. ทบทวนและจัดตั้งคณะทำงานในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน  พร้องทั้งร่วมแลกเปลี่ยนกำหนดแนวทางความร่วมมือในการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง ที่ส่งต่อสู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ได้เข้ามาเรียนรู้
  3. หน่วยงานรัฐมีการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านนโยบายที่มีความสนใจ เยาวชนเริ่มให้ความสนใจในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม

 

30 0

8. เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน

วันที่ 18 ตุลาคม 2566 เวลา 08:30 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

มีการทบทวนกฎกติกาเดิมในชุมชน และเพิ่มกฎกติกาเรื่องขนาดของตาแหให้ใช้ตั้งแต่ขนาดตั้งแต่ 3.5 เซนติเมตร ขึ้นไป

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. เชิญผู้ที่เกี่ยวข้อง อาสาสมัคร ตัวแทนองค์กร จำนวน 25 คน มาร่วมกิจกรรม โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 13.30-15.30 น. ณ ศาลาประชุม ชุมชนบ้านกลาง
  2. ร่างกติกาชุมชน เพื่อนำไปเสนอต่อที่ประชุมเพื่อประชาพิจารณ์
  3. ประชุมชุมชนเพื่อพิจารณาและเห็นชอบในการประกาศใช้

 

25 0

9. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

วันที่ 18 ตุลาคม 2566 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

  1. คณะทำงานที่ประกอบด้วยตัวแทนแกนนำชาวประมง ท้องถิ่น ท้องที่ โรงเรียน เยาวชน จำนวน 20 คนที่มีความตั้งใจพร้อมร่วมในการดำเนินการเกิดผลลัพธ์ตามที่ได้กำหนด ได้แบ่งบทบาทการทำงานตามความเหมาะ ประกอบด้วย ทีมประสานงาน ทีมข้อมูล ทีมติดตามประเมินผล ทีมส่งเสริมการอนุรักษ์
  2. คณะทำงานได้ร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น กำหนดแผนการร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลของชุมชนปากพะยูน ปรับปฏิทินการทำงานโครงการที่สอดคล้องกับสถานการณ์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  1. ผู้่รับผิดชอบโครงการทบทวนโครงการ วัตถุประสงค์ แลกเปลี่ยนแนวทางการทำงาน ทบทวน แผนปฏิบัติการประชุมคณะทำงาน โดยดำเนินการตั้งแต่เวลา 09.00-12.00 น. ณ ศาลาประชุม ชุมชนบ้านกลาง
  2. การดำเนินการประชุมในการติดตามแลกเปลี่ยนการดำเนิน และแบ่งบทบาทการทำงานของคณะทำงานในการดำเนินการโครงการ
  3. กำหนดแผนกิจกรรมเดือนตุลาคม
  4. การจัดทำรายงานการประชุม

 

15 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 24 9                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 79,950.00 25,100.00                  
คุณภาพกิจกรรม 36                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน ( 1 พ.ย. 2566 - 30 พ.ย. 2566 )
  2. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน ( 1 พ.ย. 2566 - 30 พ.ย. 2566 )
  3. กิจกรรมที่ 6 ทำขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ ( 1 พ.ย. 2566 - 30 พ.ย. 2566 )
  4. ขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ ( 1 พ.ย. 2566 - 30 พ.ย. 2566 )
  5. กิจกรรมที่ 8 การจัดทำบ้านปลา ( 1 พ.ย. 2566 - 30 พ.ย. 2566 )
  6. จัดทำบ้านปลา ( 1 พ.ย. 2566 - 30 พ.ย. 2566 )
  7. กิจกรรมที่ 9 เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง ( 1 พ.ย. 2566 - 30 พ.ย. 2566 )
  8. เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง ( 1 พ.ย. 2566 - 30 พ.ย. 2566 )
  9. เวทีประเมินเพื่อเรียนรู้และพัฒนา (ARE) ( 8 พ.ย. 2566 )
  10. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ ( 12 พ.ย. 2566 )
  11. เวทีประเมินเพื่อนการเรียนรู้และปนะเมิน (ARE) ( 13 พ.ย. 2566 )
  12. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ ( 10 ธ.ค. 2566 )
  13. กิจกรรมที่ 10 การพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน ( 1 ม.ค. 2567 - 29 ก.พ. 2567 )
  14. พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน ( 1 ม.ค. 2567 - 29 ก.พ. 2567 )
  15. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ ( 20 ม.ค. 2567 )
  16. กิจกรรมที่ 11 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล ( 1 ก.พ. 2567 - 31 มี.ค. 2567 )
  17. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูมรัพยากรทางทะเล ( 1 ก.พ. 2567 - 31 มี.ค. 2567 )
  18. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ ( 11 ก.พ. 2567 )
  19. กิจกรรมที่ 2 เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ ( 10 มี.ค. 2567 )

(................................)
นางสาวการ์ตินี อามีนี
ผู้รับผิดชอบโครงการ