directions_run

การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนของคนทุกช่วงวัยด้วยการเรียนแบบปฏิบัติการ (Active Learning)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนากลไกการร่วมของชุมชนในการจัดทรัพยากรชายฝั่งทะเลของชุมชนปากพะยูน
ตัวชี้วัด : 1.1 เกิดคณะทำงานที่มีทั้งผู้นำชุมชน ชาวประมง หน่วยงานรัฐ หน่วยงานท้องถิ่นเข้ามาร่วมเป็นคณะทำงานในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำของชุมชนปากพะยูน 1.2 มีแผนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ 1.3 มีแผนฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล คณะทำงานมีศักยภาพในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลโดยกระบวนการมีส่วนร่วม

 

2 เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของชุมชนให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้นเอื้อกับการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรสัตว์น้ำ
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดข้อมูลทรัพยากรของชุมชน 2.2 มีเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 จุด 2.3 มีบ้านปลาอย่างน้อย 2 จุด เพื่อเป็นแหล่งที่อยู่และแหล่งอาหารของสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้น 2.4 เกิดกฎกติการ่วมในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำของชุมชน มีกลุ่มที่สามารถเป็นกลไกการติดตามได้อย่างน้อย 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มเยาวชน กลุ่มแกนนำ กลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มภาคีภายนอก

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพกระบวนการเรียนรู้แกนนำชุมชนและเยาวชนในการเรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูน
ตัวชี้วัด : 3.1 แกนนำชุมชนและเยาวชนมีความรู้ ทักษะและสามารถถ่ายทอดในการปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูนได้อย่างน้อย 20 คน 3.2 เกิดประมงอาสาดูแลเขตฯไม่ต่ำกว่า 15 คน 3.3 เกิดแหล่งเรียนรู้ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่งทะเลชุมชนปากพะยูน 3.4 มีคนในชุมชนที่ร่วมเรียนรู้และมีความเข้าใจการดูแลรักษาทรัพยากรอย่างน้อย 100 คน

 

4 เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วรนร่วมในการจัดการทรัพยากร
ตัวชี้วัด : 4.1 แกนนำกลุ่มจำนวน 50 คน มีการเปลี่ยนแปลงพฟติกรรมการบริโภคอาหารทะเลและอาหารในชุมชนที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ จากผลผลิตการประมงที่ปลอดภัย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ชาวประมงหมู่ที่ 1 ชุมชนบ้านกลาง จำนวน 50 ครัวเรือน 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากลไกการร่วมของชุมชนในการจัดทรัพยากรชายฝั่งทะเลของชุมชนปากพะยูน (2) เพื่อปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลของชุมชนให้มีความอุดมสมบูรณ์ขึ้นเอื้อกับการเพิ่มขึ้นของทรัพยากรสัตว์น้ำ (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพกระบวนการเรียนรู้แกนนำชุมชนและเยาวชนในการเรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลชุมชนปากพะยูน (4) เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วรนร่วมในการจัดการทรัพยากร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการเดือนละ 1 ครั้ง (2) ปฐมนิเทศโครงการ (3) กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร (4) กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา (5) กิจกรรมที่ 1  เวทีพูดคุยทำความเข้าใจ สถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน (6) กิจกรรมที่ 7 เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน (7) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน (8) กิจกรรมที่ 6 ทำขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ (9) กิจกรรมที่ 8 การจัดทำบ้านปลา (10) กิจกรรมที่ 9 เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง (11) เวทีประเมินเพื่อเรียนรู้และพัฒนา (ARE) (12) กิจกรรมที่ 10  การพัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน (13) กิจกรรมที่ 11  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเล (14) กิจกรรมที่ 12  เวทีปิดโครงการ (15) กิจกรรมที่ 13 การเข้าร่วมกิจกรรม สสส. กิจกรรมบริหารจัดการโครงการ (16) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการครั้งที่ 1 (17) กิจกรรมที่ 3 เวทีทำแผนฟื้นฟูทรัพยากร (18) กิจกรรมที่ 4 การสำรวจและเก็บตัวอย่างสัตว์น้ำก่อน-หลัง การทำบ้านปลา (19) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (20) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (21) กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถาณการณ์ชุมชนปากพะยูน (22) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (23) เวทีทบทวนและกำหนดกติกาชุมชน (24) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคณะทำงานในการดำเนินงานอนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยการศึกษาดูงาน (25) ขยายเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ (26) จัดทำบ้านปลา (27) เวทีสร้างกลไกและแผนการเฝ้าระวัง (28) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (29) เวทีประเมินเพื่อนการเรียนรู้และปนะเมิน (ARE) (30) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (31) พัฒนาศักยภาพแกนนำเยาวชน (32) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (33) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ การอนุรักษ์ ฟื้นฟูมรัพยากรทางทะเล (34) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (35) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ (36) เวทีปิดโครงการ (37) การบริหารจัดการโครงการ (38) กิจกรรมที่ 2  เวทีประชุมคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh