stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ เขตอนุรักษ์ชุมชน สู่ความมั่นคงทางอาหาร
ภายใต้โครงการ แผนงานร่วมทุนนับสนุนการสร้างสุขภาวะชุมชนประมงพื้นบ้านใน 5 จังหวัดชายฝั่งทะเล
ภายใต้องค์กร สมาคมรักษ์ทะเลไทย
รหัสโครงการ M-019
วันที่อนุมัติ 13 กรกฎาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2566 - 30 เมษายน 2567
งบประมาณ 80,250.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มอนุรักษ์ประมงพื้นบ้านบ้านหน้าทับร่องเรือ 3
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายยุโสบ ขุนหวาง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0959917471
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ manit22514@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางจินตา จิตตะนัง/นางสาวกาญจนา ดิษฐาภรณ์
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2566 31 ต.ค. 2566 1 ก.ค. 2566 31 ต.ค. 2566 40,125.00
2 1 พ.ย. 2566 31 ม.ค. 2567 1 พ.ย. 2566 31 ม.ค. 2567 32,100.00
3 1 ก.พ. 2567 30 เม.ย. 2567 8,025.00
รวมงบประมาณ 80,250.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานปรับสภาพสิ่งแวดล้อม
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตำบลท่าศาลา เป็นชุมชนที่มีทรัพยากรธรรมชาติเป็นเงื่อนไขสำคัญที่มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน โดยทางด้านตะวันออกติดกับทะเลอ่าวไทยและทางด้านตะวันตกติดกับแนวเทือกเขาหลวงจากลักษณะดังกล่าวทำให้อำเภอท่าศาลามีความอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะทางการเกษตรและการประมงจาความอุดมความสมบูรณ์ของทรัพยากรทาง  ทะเล หมู่บ้านริมชายฝั่งในตำบลท่าศาลา จึงได้ยึดอาชีพประมงเป็นอาชีพหลักมาตั้งแต่อดีต  แต่ในช่วงปี 2535-2550 จากการทำประมงที่ผิดกฎหมายและเกินความพอดี  ทำให้ทรัพยากรเสื่อมโทรม ไม่อุดมสมบูรณ์ดังในอดีตที่ผ่านมา ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชาวชุมชนทั้งด้านเศรษฐกิจ , สังคม , สิ่งแวดล้อม  เช่นการลดลงของทรัพยากร , การย้ายถิ่นเพื่อประกอบอาชีพ , ภาระหนี้สิน , การขายแรงงานในโรงงานของเด็กหนุ่มสาว เป็นต้น     บ้านหน้าทับหมู่ที่7ต.ท่าศาลาอ.ท่าศาลาจ.นครศรีธรรมราชเป็นหนึ่งในเจ็ดหมู่บ้านของตำบลท่าศาลาที่พื้นที่ติดทะเลรวมทั้งพื้นที่ส่วนหนึ่งเป็นป่าชายเลนผืนใหญ่  ซึ่งเป็นแหล่งอาศัยและแหล่งอนุบาสัตว์น้ำวัยอ่อนหลากหลายชนิด  เช่น ปลากะพง ปลากระบอก ปลากุเลา ปลาดุกทะเล ปูดำ ปูเปี้ยว ปูม้า หอยจุ๊บแจง  หอยแครง ที่รอการเติบโตไปเป็นสัตว์น้ำตัวเต็มวัยให้ชาวประมงจับกินจับขาย สร้างความมั่นคงทางอาหารและสร้างงานสร้างรายได้ ให้กับราษฎรในพื้นที่และผู้คนในพื้นที่อื่นๆคนในชุมชนจึงประกอบอาชีพประมงเป็นหลักทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่ง จึงเป็นฐานทรัพยากรที่มีความสำคัญมาก แต่บ้านหน้าทัพยังประสบกับปัญหาการทำประมงด้วยเครื่องมือผิดกฎหมาย ทั้งจากประมงภายนอกและภายในชุมชน  จึงส่งผลให้ทรัพยากรลดลงส่งผลกระทบต่อรายได้ภาระหนี้สินและการ  ขาดแรงจูงใจต่อการสืบทอดอาชีพประมงของ ลูกหลาน
จากปัญหาการลดลงของทรัพยากรดังกล่าวชุมชนได้พยายามแก้ไขปัญหาโดยในปี 256…..ได้จัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ ประมงพื้นบ้านบ้านหน้าทับร่องเรือ 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์ฟื้นฟูดูแลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง หน้าบ้านของตนเอง  ซึ่งกลุ่มฯ ตระหนักว่าการจะรักษาความอุดมสมบูรณ์และยั่งยืน ของทรัพยากรไว้จะต้อง เกิด จากการใช้ทรัพยากรอย่างเเหมาะสม  ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือ ร่วมใจจากทุกๆ คน  จากการทำบ้านปลา ในช่วง 3-4 ปี ที่ผ่านมา พบว่าสัตว์น้ำในบริเวณบ้านปลามีชุกชุมมากขึ้น  และจากการทำธนาคารปูม้าของหมู่บ้านใกล้เคียง  ทำให้สามารถพบปูม้าขนาดเล็กได้ทั่วไปในการทำประมง และชาวประมงจับปูม้าได้เพิ่มขึ้น  และในต้นปี 2566 ทางกลุ่มฯ ได้กำหนดเขตอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรจำนวน 2 เขต คือ เขตอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลมีพื้นที่ 1,500 ไร่ และเขตอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าชายเลน เนื้อที่ 27 ไร่ โดยผ่าน การเห็นชอบของสมาชิกในชุมชน ซึ่งมีมติให้เป็นแหล่งคุ้มครองเพาะพันธุ์สัตว์น้ำของชุมชน โดยในอนาคตพื้นที่แห่งนี้จะเป็นแหล่งเรียนรู้ป่าชายเลน และการทำประมงพื้นบ้านที่ยั่งยืนต่อไป เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจการตระหนัก และรูปธรรมการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมและยั่งยืนแก่ชุมชน กลุ่มฯจึงต้องดำเนินการในการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรและชายฝั่งอย่างต่อเนื่องรวมถึงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มและสมาชิกในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง สามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ในหลากหลายมิติ

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ในการส่งเสริมการสร้างสุขภาวะชุมชนประมงพื้นบ้าน ด้วยการจัดการทรัพยากร บ้านหน้าทับ
  1. คณะทำงานมีบทบาทที่ชัดเจน 2 มีข้อมูลทรัพยากรสัตว์น้ำ
2 2 เพื่อให้สมาชิกชุมชน เกิดความรู้ความตระหนักในการฟื้นฟูทรัพยากรและปรับสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเพิ่มประมาณสัตว์น้ำและการติดตามเฝ้าระวัง
  1. มีกติกากลุ่ม/ชุมชน
  2. มีพื้นที่เขตอนุรักษ์ จำวน 1 เขต
  3. มีบ้านปลาในพื้นที่เขตอนุรักษ์
  4. คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูจำนวน 50 คน
3 3 เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร

1- แกนนำกลุ่มจำนวน ๓๐ คน มีการเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเลและอาหารในชุมชนที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ จากผลผลิตการประมงที่ปลอดภัยและยั่งยืน
2- แกนนำและสมาชิกชุมชน ๓๐ คน มีความสนใจและร่วมกิจกรรมฟื้นฟูทรัพยากรในชุมชน

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 215
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
ชาวประมงรอบอ่าวท่าศาลา 200 -
สมาชิกในกลุ่ม 15 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.ค. 66ส.ค. 66ก.ย. 66ต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ในการส่งเสริมการสร้างสุขภาวะชุมชนประมงพื้นบ้าน ด้วยการจัดการทรัพยากร บ้านหน้าทับ(18 ก.ค. 2566-18 ก.ค. 2566) 8,700.00                        
2 เกิดความรู้ความตระหนักในการฟื้นฟูทรัพยากรและปรับสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเพิ่มปริมาณสัตวน้ำและการติดตามเฝ้าระวัง(25 ต.ค. 2566-25 ต.ค. 2566) 64,350.00                        
3 เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร(31 ต.ค. 2566-30 มิ.ย. 2566) 7,200.00                        
รวม 80,250.00
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ในการส่งเสริมการสร้างสุขภาวะชุมชนประมงพื้นบ้าน ด้วยการจัดการทรัพยากร บ้านหน้าทับ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 52 8,700.00 4 5,612.00
13 ก.ค. 66 ปฐมนิเทศแผนงานร่วมทุนการสร้างสุขภาวะชุมชนประมงพื้นบ้าน 2 2,000.00 2,160.00
18 ก.ค. 66 เวทีประชุมทำความเข้าใจและจัดตั้งคณะทำงาน 20 2,500.00 1,889.00
17 ส.ค. 66 ประชุมคณะทำงานติดตามผลการดำเนินงาน 15 3,000.00 750.00
31 ม.ค. 67 เวทีประชุมทำความเข้าใจและจัดตั้งคณะทำงาน 15 1,200.00 813.00
2 เกิดความรู้ความตระหนักในการฟื้นฟูทรัพยากรและปรับสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเพิ่มปริมาณสัตวน้ำและการติดตามเฝ้าระวัง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 226 64,350.00 13 71,260.00
30 ส.ค. 66 ติดตามและเฝ้าระวังเขตอนุรักษ์ ครั้งที่ 1 (ทั้งหมด 5 ครั้ง) 10 2,400.00 2,400.00
26 ก.ย. 66 จัดทำบ้านปลา 30 12,000.00 12,660.00
9 ต.ค. 66 ประชุมการจัดทำแผนการเฝ้าระวังเขตอนุรักษ์ 20 3,400.00 3,400.00
17 ต.ค. 66 เวทีอบรมพัฒนาศักยภาพสร้างความรู้การบริหารจัดการทรัพยากรอย่างยั่งยืนและการอนุรักษ์ฟื้นฟู 50 5,100.00 6,350.00
10 พ.ย. 66 ลงพื้นที่ติดตามและเฝ้าระวัง ครั้งที่ 2 10 2,400.00 2,400.00
30 ม.ค. 67 ลงพื้นที่ติดตามและเฝ้าระวัง ครั้งที่ 3 10 2,400.00 2,400.00
8 มี.ค. 67 ประชุมทบทวนปรับ/แก้ไข ข้อตกลงเขตอนุรักษ์ชายฝั่ง 15 1,550.00 1,350.00
11 มี.ค. 67 ลงพื้นที่ติดตามและเฝ้าระวัง ครั้งที่ 4 10 2,400.00 2,400.00
24 เม.ย. 67 ลงพื้นที่ติดตามและเฝ้าระวัง ครั้งที่ 5 14 2,400.00 2,400.00
24 เม.ย. 67 สำรวจพันธ์สัตว์น้ำ 6 7,800.00 2,600.00
8 พ.ค. 67 ประชุมประชาคมหมู่บ้านกำหนดเขตอนุรักษ์ชายฝั่ง 50 5,100.00 6,860.00
24 พ.ค. 67 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ศึกษาระบบนิเวศน์ป่าชายเลน 0 11,100.00 20,900.00
27 มิ.ย. 67 สำรวจข้อมูล ก่อน - หลัง การทำโครงการ 1 6,300.00 5,140.00
3 เพื่อหนุนเสริมให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาวะชุมชน ในการบริโภคอาหารปลอดภัยมากขึ้น และพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 23 7,200.00 2 4,982.00
13 พ.ค. 67 เวทีประเมินเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) 20 3,400.00 1,700.00
23 - 24 พ.ค. 67 เวทีปิดโครงการแผนงานร่วมทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาวะในพื้นที่ชุมชน 3 3,800.00 3,282.00

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีจำนวนทรัพยากรสัตว์น้ำทะเลเพิ่มขึ้น 2.มีกติการกลุ่ม/ชุมชน 3.มีบ้านปลาในพื้นที่เขตอนุรักษ์ 4. มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารทะเลและอาหารในชุมชนที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2566 09:36 น.