directions_run

การจัดการทรัพยากรประมงเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์สู่เศรษฐกิจฐานรากของชุมชนบ้านโคกเมือง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนากลไกให้มีศักยภาพในการขับเคลื่อนกิจกรรมการอนุรักษ์ของชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานจำนวน 15 คน 2. มีกติกาเขตอนุรักษ์แบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน 3. มีข้อมูลเกี่ยวกับสัตว์น้ำก่อนและหลังทำกิจกรรมการอนุรักษ์ 4. มีแผนปฏิบัติงาน
0.00 15.00

แกนนำมีความรู้และมีศักยภาพในการบริหารทรัพยากรในประเด็นที่กว้างขึ้น และพร้อมที่จะเรียนรู้และพัฒนาตัวเองในประเด็นใหม่ ๆ เพื่อนำมาปรับใช้ในการทำงานของชุมชน และมีการประสานความร่วมมือกับท้องถิ่น เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ด้านนโยบายที่เป็นประเด็นร่วมกับชุมชน ในกรณีข้อตกลงเขตอนุรักษ์

2 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูทะเลสาบในพื้นที่ชุมชนบ้านโคกเมือง
ตัวชี้วัด : 1. มีบ้านปลาจำนวนไม่น้อยกว่า 3 หลัง 2. มีการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำไม่น้อยกว่า 1 ครั้งต่อปี 3. มีปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มมากขึ้นในแต่ละฤดูกาล 4.จำนวนพันธุ์สัตว์น้ำเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 2 ชนิด 5.มีป้ายประชาสัมพันธ์กติกาข้อตกลงเรื่องเขตอนุรักษ์ของหมู่บ้าน
320.00

เนื่องจากชุมชนมีกลไกการทำงานที่เข้มแข็งและมีศักยภาพที่หลากหลาย โดยการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นที่รู้จักทั้งในและนอกพื้นที่ พร้อมที่จะพัฒนาต่อยอดและยกระดับการทำงานเชื่อมร้อยกับท้องถิ่นที่ให้เป็นเป็นรูปกระทำเชิงนโยบายในรูปแบบความร่วมมือการจัดการทรัพยากรอย่างมีส่วนร่วม หรือแหล่งเรียนรู้ของชุมชน

3 เพื่อให้เกิดแพปลาชุมชนเป็นกลไกในการจัดการผลผลิตจากการประมง
ตัวชี้วัด : 1. เกิดคณะทำงานของแพปลาชุมชนที่เข้าใจหลักการทำงานจำนวน 10 คน 2. มีกฎ ระเบียบของแพปลาโดยมีส่วนร่วมจากชุมชน 3. มีแพปลาชุมชน 4.รายได้จากการขายปลาสดเพิ่มขึ้น

 

4 เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยบริโภคในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.สมาชิกที่ร่วมโครงการสามารถบอก อธิบาย หลักเกณฑ์ของอาหารปลอดภัยได้ชุมชนละไม่น้อยกว่า 10 คน 2. มีผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยอย่างน้อย 2 ผลิตภัณฑ์ 3. มีบรรจุภัณฑ์ที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดผู้บริโภคอย่างน้อย 2 บรรจุภัณฑ์ 4. รายได้จากการแปรรูปสัตว์น้ำเพื่อจำหน่ายเพิ่มขึ้น
0.00

สมาชิกและคนในชุมชนมีความกระตือรืร้น สนใจในการพัฒนาทักษะ สร้างความรู้ความเข้าใจการสร้างมูลค่าเพิ่มของสัตว์น้ำทั้งสดและแปรรูปภายใต้มาตรฐาน บรูแบรนด์ แต่ยังขาดความรู้ความเข้าใจในรายละเอียดคำว่า มาตรฐานอาหารทะเลปลอดภัย ซึ่งเป็นประเด็นที่พี่เลี้ยงและผู้ที่เกี่ยวข้องต้องทำความเข้าใจให้ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับการฝึกปฏิบัติจริง

5 เพื่อหนุนเสริมให้มีการบริหารจัดการโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1. โครงการย่อยสามารถท างานได้ตามที่ก าหนดไว้ ในแผน 2. โครงการย่อยสามารถ รายงานผลในระบบ ออนไลน์ได้ถูกต้อง ครบถ้วน 3. โครงการย่อยสามารถ เดินทางร่วมกิจกรรมที่ทาง คณะบริหารแผนงาน กำหนด)
80.00

คณะทำงานมีความรู้ในการบริหารจัดการโครงการแต่ยังขาดทักษะทำรายงานผ่านระบบเว็บไซต์ จึงจำเป็นต้องมีฝึกการทำรายงานผ่านระบบเว็บไซต์ เพื่อให้เกิดความชำนาญและทำรายงานได้

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายรอง ได้แก่ สมาชิกภายในและภายนอกชุมชน 100
กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ สมาชิกจำนวน 80 คน 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนากลไกให้มีศักยภาพในการขับเคลื่อนกิจกรรมการอนุรักษ์ของชุมชน (2) เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูทะเลสาบในพื้นที่ชุมชนบ้านโคกเมือง (3) เพื่อให้เกิดแพปลาชุมชนเป็นกลไกในการจัดการผลผลิตจากการประมง (4) เพื่อให้มีผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยบริโภคในชุมชน (5) เพื่อหนุนเสริมให้มีการบริหารจัดการโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อให้เกิดมาตรการชุมชนในการเฝ้าระวังการดำเนินการตามกติกาชุมชนที่เข็มแข็ง (2) วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อให้เกิดการปรับสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการฟื้นฟูทะเลสาบในพื้นที่ชุมชนบ้านโคกเมือง (3) วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อให้เกิดแพปลาชุมชนเป็นกลไกในการจัดการผลผลิตจากการประมง (4) วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 มีผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยบริโภคในชุมชนและขายเพื่อสร้างรายได้ (5) กิจกรรมที่ 7 เวทีพูดคุยกับการจัดการผลผลิตประมงของชุมชน (6) กิจกรรมที่ 16 เวทีติดตามประเมินผลเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา (ARE) 4 เดือนครั้ง (7) กิจกรรมที่ 6.1 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 1 (8) กิจกรรมที่ 1 เวทีพูดคุยทำความเข้าใจสถาณการณ์ปัญหาทะเลสาบและชายฝั่งชุมชนบ้านโคกเมือง (9) กิจกรรมที่ 6.2 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 2 (10) กิจกรรมที่ 3 จัดทำข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครื่องมือทำประมงและรายได้ของชุมชน (11) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการทบทวนกติกาชุมชนและจัดตั้งประมงอาสา (12) กิจกรรมที่ 8 การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับแพปลาชุมชน การจัดตั้งคณะกรรมการ ร่างกฎ ของแพปลาชุมชน (13) กิจกรรมที่ 5 เวทีคืนข้อมูลชุมชน ข้อมูลชนิดพันธุ์สัตว์น้ำ เครื่องมือทำประมงและรายได้ของชุมชน (14) กิจกรรมที่ 7 เวทีพูดคุยเกี่ยวกับการจัดการผลผลิตประมงของชุมชน (15) กิจกรรมที่ 6.3 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 3 (16) กิจกรรมที่ 4 การทำบ้านปลาและปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ (17) กิจกรรมที่ 11 เวทีพูดคุยสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาหารปลอดภัยและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (18) กิจกรรมที่ 6.4 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 4 (19) กิจกรรมที่ 10 ดำเนินการทำงานของแพปลาชุมชน (20) กิจกรรมที่ 9 ทำแผนธุรกิจของแพปลาชุมชน (21) กิจกรรมที่ 6.5 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 5 (22) กิจกรรมที่ 13 ศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนประสบการณ์การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารปลอดภัยและทดลองปฎิบัติการ ร้านคนจับปลา (23) กิจกรรมที่ 12 การอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการทำผลิตภัณฑ์ของชุมชนและการจัดตั้งคณะกรรมการ (24) กิจกรรมที่ 6.6 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 6 (25) กิจกรรมที่ 14  ฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการแปรรูปอาหารทะเลภายใต้มาตรฐาน (26) ชื่อกิจกรรมที่ 15  ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และแผนธุรกิจ (27) กิจกรรมที่ 6.7 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 7 (28) กิจกรรมที่ 6.8 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 8 (29) กิจกรรมที่ 17  เวทีปิดโครงการ (30) กิจกรรมที่ 6.9 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 9 (31) กิจกรรมที่ 6.10 การประชุมคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการ ครั้งที่ 10

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh