directions_run

ทำซั้งกอบ้านปลาและพัฒนาอาชีพ แปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชนบ้านตะเสะ

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรและการส่งเสริมอาชีพ
ตัวชี้วัด : - เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนกิจกรรมอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรบ้านตะเสะและการส่งเสริมอาชีพบ้านตะเสะ - เกิดกลไกการวางแผนและติดตามผลการดำเนินงานโดยชุมชน

เกิดกลไกคณะทำงานการดำเนินโครงการที่มาจากหลายภาคส่วน จำนวนไม่น้อยกว่า 15 คน โดยมาจากคนในชุมชน และหน่วยงานภายนอกที่เข้ามาหนุนเสริม ทำให้เกิดการขับเคลื่อนงานที่มีประสิทธิภาพ เกิดการพูดคุยแลกเปลี่ยนทบทวนข้อมูลการอนุรักษ์ฟื้นฟูสัตว์น้ำ การทำบ้านปลา รวมถึงเกิดอาสาสมัครเฝ้าระวังทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมกันขับเคลื่อนงานจนเกิดแผนการดำเนินงานและมีการติดตามผลการดำเนินงาน

 

คณะทำงานและอาสาสมัครเฝ้าระวังทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งมีการขับเคลื่อนงานร่วมกันได้เป็นอย่างดี จนเกิดแผนการดำเนินงานและการขับเคลื่อนงานที่เป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

2 เพื่อให้เกิดการจัดการ อนุรักษ์ และปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการฟื้นฟูสัตว์น้ำและฐานทรัพยากรชายฝั่งในชุมชนตะเสะ
ตัวชี้วัด : - มีบ้านปลาจากทางมะพร้าว จำนวน 1 กอง บริเวณท่าเรือตะเสะ - ชาวประมงสามารถจับปลาได้มากขึ้นบริเวณรอบซั้งกอบ้านปลา - ชาวประมงในพื้นที่และนอกพื้นที่รวมทั้งเยาวชน จำนวน 50 คน มีส่วนร่วมในกิจกรรมวางซั้งกอบ้านปลา

เกิดการฟื้นฟูทรัพยากรบ้านตะเสะโดยการทำบ้านปลาทางมะพร้างบริเวณท่าเรือบ้านตะเสะ เกิดการเพิ่มปริมาณจำนวนสัตว์น้ำ เช่น จากเมื่อก่อนจุดที่วางบ้านปลาไม่มีสัตว์น้ำให้จับ แต่ในปัจจุบันชาวประมงพื้นบ้านสามารถจับปลาได้มากขึ้น

 

คนในชุมชนเห็นความสำคัญของการฟื้นฟูสัตว์น้ำ ทำบ้านปลาในทะเล ที่ส่งผลชัดเจต่อการเพิ่มขึ้นของสัตว์น้ำ ส่งผลดีต่อการประกอบอาชีพทำการประมง มีรายได้ ดีขึ้น และที่สำคัญการบริโภคสัตว์น้ำที่จับเอง ส่งผลดีต่อสุขภาพของสมาชิกในครอบครัวและผู้บริโภค

3 เพื่อพัฒนาและจัดการผลผลิตประมงที่มีคุณภาพ และเปลี่ยนพฤติกรรมทางการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัยให้กับชาวบ้านตะเสะ
ตัวชี้วัด : - มีผลิตภัณฑ์ปลาหวานปรุงรส - มีแปลงทดลองเลี้ยงสาหร่ายขนนก เป็นอาชีพเสริม - แกนนำและชุมชนมีการเปลี่ยนพฤติกรรมทางการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัย และเข้าถึงอาหารปลอดภัยต่อสุขภาพเพิ่มมากขึ้น อย่างน้อย 30 คน

 

 

ยังไม่ได้ดำเนินการ