stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ลดอุบัติเหตุทางท้องถนนตำบลยะลา
ภายใต้โครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะ “กินปลอดโรค อยู่ปลอดภัย” จังหวัดยะลา
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 67-00123-10
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 31 มกราคม 2568
งบประมาณ 91,050.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลยะลา
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนพดล หีมคง
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 088-4896545
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ dolnoppadol.2557@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวยามีละ เจ๊ะหลง
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดภาคใต้
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2567 30 พ.ค. 2567 36,420.00
2 1 มิ.ย. 2567 30 ก.ย. 2567 45,525.00
3 30 ก.ย. 2567 31 ม.ค. 2568 9,105.00
รวมงบประมาณ 91,050.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอุบัติเหตุ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จากสถิติการเกิดอุบัติเหตุของตำบลยะลา ย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงปัจจุบัน เดือน มกราคม 2567 พบว่า ตำบลยะลา มีอัตราการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 41 ครั้ง เสียชีวิต 2 คน บาดเจ็บจำนวน 50 คน จากเหตุการณ์ดังกล่าวฯ หากวิเคราะห์ตามเขตพื้นที่ พบว่าตำบลยะลา อำเภอ
0.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้เกิดกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนเรื่องป้องกันอุบัติเหตุทางถนนที่เข้มแข็ง..

เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์
1.1 มีโครงสร้างแบ่งงานชัดเจน เกิดคณะอนุกรรมการ ศปถ.ตำบล มีความรู้ความเข้าใจการวิเคราะห์จุดเสี่ยง 1.2 มีข้อมูล มีแผนการดำเนินงานร่วมกันและแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและขยายผลกิจกรรม 1.3 คณะอนุกรรมการมีความรู้เรื่อง RTI และมีทักษะด้านการวิเคราะห์ข้อมูล และจุดเสี่ยง 1.4 มีแผนการดำเนินการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ จากจุดเสี่ยง 1.5 คณะทำงาน ติดตามประเมินผลทุกเดือน

ผลลัพธ์ที่ 2 เกิดกลไก ศปถ.ตำบล ตัวชี้วัดผลลัพธ์
2.1 เกิดคณะกรรมการขับเคลื่อนการลดอุบัติเหตุ ศปถ.ตำบล (ตามระเบียบที่กำหนดไว้) 2.2 เกิดโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจน มีการประสานงานกับภาคี/เครือข่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้องได้ 2.3 มีข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลบริบทพื้นที่/จุดเสี่ยง/พฤติกรรมเสี่ยง/ข้อมูลสถานการณ์อุบัติเหตุ
2.4 คณะกรรมการ ศปถ.ตำบลทำงานตามบทบาท ที่กำหนด 2.5 มีแผนการดำเนินงานและการบูรณาการกับภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง

ผลลัพธ์ที่ 3 เกิดกลไกเฝ้าระวังและติดตามเรื่องอุบัติเหตุทางท้องถนนที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 เกิดข้อตกลงร่วมของชุมชนในการแก้ไขจุดเสี่ยงและพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับจุดเสี่ยงที่ชุมชนจะแก้ไขเพื่อลดอุบัติเหตุในชุมชน 3.2 ข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมประชาชนในชุมชน
3.3 มีการติดตามเฝ้าระวังและทบทวนแผนปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง 3.4 เกิดอาสาจราจร จำนวน 20 คน 3.5 เกิดกลไกการเฝ้าระวัง การเกิดเหตุอย่างต่อเนื่องของชุมชน หมู่บ้าน ตำบล

ผลลัพธ์ที่ 4 พฤติกรรมเสี่ยง และ สภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุได้รับการแก้ไข และประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักเพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 จำนวนคนที่ได้รับการอบรมความรู้ ความเข้าใจในเรื่องกฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย เพื่อลดอุบัติเหตุในชุมชน 4.2 จุดเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอดคล้องกับปัญหาในชุมชน ร้อยละ 60 ของจำนวนจุดเสี่ยงประเภทที่ชุมชนแก้ไขได้เอง 4.3 ส่งต่อจุดเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขเองร้อยละ 100

2 เพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนน

การเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์
1 จำนวนการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง  ร้อยละ 50 2 อัตราความรุนแรงทางศีรษะลดลง ร้อยละ 50 3 อัตราการบาดเจ็บลดลง ร้อยละ 50
4 อัตราการตายลดลง ร้อยละ 50

0.00
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน

 

stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
คณะทำงานโครงการ และประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ 120 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67ต.ค. 67พ.ย. 67ธ.ค. 67ม.ค. 68
1 จัดตั้งคณะอนุกรรมการและประชุมคณะกรรมการ ศปถ.ตำบล(3 มิ.ย. 2567-5 ก.ค. 2567) 3,600.00                    
2 จัดอบรมคณะอนุกรรมการ และอาสาสมัครจราจร(3 มิ.ย. 2567-3 มิ.ย. 2567) 15,950.00                    
3 อบรมให้ความรู้เรื่อง กฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย(3 มิ.ย. 2567-3 มิ.ย. 2567) 22,400.00                    
4 การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย(3 มิ.ย. 2567-3 มิ.ย. 2567) 6,600.00                    
5 การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วอย่างเป็นระยะ(3 มิ.ย. 2567-3 มิ.ย. 2567) 26,000.00                    
6 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนงานต่อไป(3 มิ.ย. 2567-3 มิ.ย. 2567) 6,500.00                    
7 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน(3 มิ.ย. 2567-3 มิ.ย. 2567) 10,000.00                    
รวม 91,050.00
1 จัดตั้งคณะอนุกรรมการและประชุมคณะกรรมการ ศปถ.ตำบล กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 120 3,600.00 0 0.00
3 มิ.ย. 67 ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจโครงการร่วมกัน แบ่งบทบาทหน้าที่ พร้อมวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน จัดตั้งคณะอนุกรรมการ ปรับปรุงรายชื่อคณะกรรมการ ศปถ.ตำบล 30 900.00 -
3 มิ.ย. 67 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 1 และวิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงในชุมชน 30 900.00 -
3 มิ.ย. 67 สรุปข้อมูลการติดตามครั้งที่ 2 และวางแผนแก้ไขพฤติกรรมเสี่ยงในชุมชน 30 900.00 -
3 มิ.ย. 67 ประชุมเพื่อสรุปผลการดำเนินงานโครงการ 30 900.00 -
2 จัดอบรมคณะอนุกรรมการ และอาสาสมัครจราจร กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 60 15,950.00 0 0.00
3 มิ.ย. 67 จัดอบรมคณะอนุกรรมการ และอาสาสมัครจราจร เพื่อเรียนรู้การบูรณาการทำงานร่วมกันและเน้นให้คณะทำงานร่วมกันวางแผนเพื่อขับเคลื่อนการป้องกันอุบัติเหตุในชุมชน พร้อมเรียนรู้เทคนิคการดำเนินงานเพื่อสร้างเครือข่าย เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล และได้เรียนรู้ถึงบทเรียนที่ประ 30 9,300.00 -
3 มิ.ย. 67 จัดเตรียมกรวยจราจร , กระบองไฟจราจร ไฟโบกรถ , เสื้อกั๊กสะท้อนแสง เพื่อใช้สำหรับสาธิตในการอบรม 30 6,650.00 -
3 อบรมให้ความรู้เรื่อง กฎจราจรและการขับขี่อย่างปลอดภัย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 100 22,400.00 0 0.00
3 มิ.ย. 67 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจร และการขับขี่อย่างปลอดภัย พรบ.ภาคบังคับ รุ่นที่ 1 กลุ่มเยาวชน 50 11,200.00 -
3 มิ.ย. 67 จัดอบรมให้ความรู้เรื่องกฎจราจร และการขับขี่อย่างปลอดภัย พรบ.ภาคบังคับ รุ่นที่ 2 ประชาชนทั่วไป 50 11,200.00 -
4 การปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 6,600.00 0 0.00
3 มิ.ย. 67 ปรับปรุงจุดเสี่ยงอันตราย 40 6,600.00 -
5 การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลอุบัติเหตุจากจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขแล้วอย่างเป็นระยะ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 26,000.00 0 0.00
3 มิ.ย. 67 คณะทำงานและอาสาสมัครจราจรในชุมชนติดตามผลการดำเนินงาน หลังจากทำการปรับปรุงแก้ไขจุดเสี่ยง 40 26,000.00 -
6 จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้พร้อมสรุปผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องขับเคลื่อนงานต่อไป กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 6,500.00 0 0.00
3 มิ.ย. 67 จัดเวทีพุดคุยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีส่วนในการเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนน - ถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ - สรุปข้อมูล 50 6,500.00 -
7 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 10,000.00 0 0.00
3 มิ.ย. 67 ค่าเดินทาง 0 10,000.00 -

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดคณะทำงานขับเคลื่อนโครงการที่เข้มแข็ง 2.เกิดกลไก ศปถ.ตำบล 3.เกิดกลไกเฝ้าระวังและติดตามเรื่องอุบัติเหตุทางท้องถนนที่เข้มแข็ง 4.พฤติกรรมเสี่ยง และ สภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุได้รับการแก้ไข และประชาชนมีความรู้และเกิดความตระหนักเพื่อลดอุบัติเหตุทางท้องถนน 5.การเกิดอุบัติเหตุทางท้องถนนลดลง

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2567 09:19 น.