directions_run

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนอุเป ตำบลกรงปินัง

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยชุมชนอุเป ตำบลกรงปินัง
ภายใต้โครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะ “กินปลอดโรค อยู่ปลอดภัย” จังหวัดยะลา
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ 67-0019
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 31 มกราคม 2568
งบประมาณ 92,400.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มเกษตรกรปลูกผักปลอดภัยชุมชนอุเป
ผู้รับผิดชอบโครงการ รอมือลี เจ๊ะโซะ
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0848611139
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ sarud.3417@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ รุสดี ยาหะแม
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดภาคใต้
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2567 30 พ.ค. 2567 36,960.00
2 1 มิ.ย. 2567 30 ก.ย. 2567 46,200.00
3 30 ก.ย. 2567 15 ม.ค. 2568 9,240.00
รวมงบประมาณ 92,400.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การดำเนินงานโครงการตามแผนยุทธศาสตร์จังหวัดยะลา ประจำปี 2567 ประเด็นยุทธศาสตร์ผักปลอดภัย มีเป้าหมายเพื่อลดการนำเข้าผักจากนอกพื้นที่ ผ่านการขับเคลื่อนโครงการของกลุ่ม 2 รูปแบบ คือ 1. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน จำนวน 4 พื้นที่ ได้แก่ ลำใหม่ ยะต๊ะ บันนังสตา และเนินง
80.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง

ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลุ่มเกษตรกรที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีการบันทึกการประชุม เกิดโครงสร้างคณะกรรมการ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และเกิดกฏ กติกากลุ่ม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีสมาชิกกลุ่มเพิ่มขึ้น และมีข้อมูลพื้นที่การปลูก ชนิดผัก ตลาด และรายได้ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 คณะกรรมการมีทักษะการบริหารจัดการกลุ่ม เพื่อสร้างกลุ่มที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.4 เกษตรกรมีทักษะความรู้ การผลิตตามมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.5 มีทักษะความรู้การวางแผนการผลิต และการตลาด เพื่อพัฒนายกระดับตัวเอง และกลุ่ม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.6 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่ 2 มีพื้นที่ปลูกผักที่เป็นความต้องการของตลาดเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีจำนวนพื้นที่ที่พร้อมเข้ารับการตรวจมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 มีแผนการปลูกผักของสมาชิก และกลุ่ม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 มีจำนวนพื้นที่ปลูกผักเพิ่มขึ้น 20 พื้นที่ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.4 มีชนิดผักเพิ่มขึ้น ร้อยละ 60 ต่อความต้องการของตลาด

80.00
2 เพื่อให้เกษตรกรสามารถบริโภคและเพิ่มรายได้จากการจำหน่ายผักปลอดภัย

ผลลัพธ์ที่ 3 มีแปลงผักที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีแปลงผักที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ร้อยละ 20 ต่อจำนวนสมาชิก ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลลัพธ์ที่ 4 มีระบบกลไก สนับสนุนการผลิต และการตลาด
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 มีการติดตามตรวจแปลงที่รับรองมาตรฐาน GAP
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 มีแผนการตลาด
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีจุดกระจ่ายสินค้าอย่างน้อย 2 จุด

ผลลัพธ์ที่ 5 เกษตรกรมีรายได้จากการขายผักปลอดภัยเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 เกษตรกรมีรายได้จากการขายผักปลอดภัย อย่างน้อย 500 บาทต่อเดือน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 เกษตรกรมีการบริโภค ผักปลอดภัย อย่างน้อย 400 กรัม/วัน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.3 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้

80.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2567 09:33 น.