directions_run

ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยในครัวเรือนวิสาหกิจอินทร์ธารน้ำทิพย์

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยในครัวเรือนวิสาหกิจอินทร์ธารน้ำทิพย์
ภายใต้โครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาวะ “กินปลอดโรค อยู่ปลอดภัย” จังหวัดยะลา
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดยะลา
รหัสโครงการ
วันที่อนุมัติ 1 เมษายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2567 - 15 มกราคม 2568
งบประมาณ 90,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ นาย ณรงค์รัชช์ ทรัพย์สิน
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0936652699
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ tbe04437@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาว วราภรณ์ เงินราษฎร์
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดภาคใต้
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2567 30 พ.ค. 2567 36,000.00
2 1 มิ.ย. 2567 15 ก.ย. 2567 45,000.00
3 30 ก.ย. 2567 15 ม.ค. 2568 9,000.00
รวมงบประมาณ 90,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเกษตรกรให้เข้มแข็ง

ผลลัพธ์ที่ 1 เกิดกลุ่มเข้มแข็ง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.1 มีสมาชิกกลุ่มเพิ่มขึ้น ร้อยละ50 หรือไม่ต่ำกว่า 10 คน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.2 มีข้อมูล พื้นที่การปลูกของสมาชิกและการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.3 มีข้อตกลง กติกากลุ่ม ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.4 เกิดแผนการดำเนินงานของ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.5 สมาชิกกลุ่มมีความรู้ ทักษะ การผลิต และมาตรฐาน GAP ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 1.6 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 1)

ผลลัพธ์ที่ 2 มีพื้นที่ปลูกผักเป็นที่ต้องการของตลาดเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.1 มีแผนการผลิต/ปลูกผักปลอดภัยรายแปลง ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.2 จำนวนพื้นที่ปลูกผักเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 2.3 แปลง/ชนิดผักปลอดภัยที่ปลูกเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์ที่ 3 มีแปลง/ผัก ที่ได้รับรองมาตรฐาน GAP
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.1 มีจำนวนแปลงผักที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP ร้อยละ 80 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3.2 มีการติดตาม แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพี่เลี้ยง (ARE ครั้งที่ 2)

50.00
2 เพื่อให้ครัวเรือนสมาชิกกลุ่มมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผักปลอดภัย

ผลลัพธ์ที่ 4 มีระบบกลไกสนับสนุนการผลิตและการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.1 มีการติดตามตรวจแปลงรับรองผักปลอดภัยเป็นระยะ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.2 มีแผนการตลาด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.3 มีจุดกระจ่ายสินค้าอย่างน้อย 1 จุด ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 4.4 เกิดคนต้นแบบการผลิตผักปลอดภัย ผลลัพธ์ที่ 5 เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการจำหน่ายผักปลอดภัย ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.1 มีมูลค่าการขายผักปลอดภัยที่ผ่านมาตรฐาน GAP เพิ่มขึ้น 500 บาท/เดือน ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.2 สมาชิกโครงการมีการบริโภคผักปลอดภัยอย่าน้อย 400 กรัม/วัน/คน
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ 5.3 มีการติดตาม ประเมินผล กับพี่เลี้ยง(ARE ครั้งที่ 3 )

500.00
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะทำงาน

คณะทำงานมีความเข้มแข็ง

10.00
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
สมาชิกวิสาหกิจมังคุดทุเรียนอินทรีย์ธารน้ำทิพย์ 40 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67ต.ค. 67พ.ย. 67ธ.ค. 67ม.ค. 68
1 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน(1 เม.ย. 2567-31 ม.ค. 2568) 0.00                    
รวม 0.00
1 พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 0 0 0

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ค. 2567 09:39 น.