directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตใจของผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดความเครียด ในหมู่บ้านม่วงทวน ต.หารเทา อ.ปากพะยูน จ.พัทลุง

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีคณะทำงาน กลไกการดูแลสุขภาพจิตของผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน 12 คน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ รพ.สต. จำนวน 1 คน อสม. หมู่ที่ 3 จำนวน 5 คน ตัวแทนผู้สูงอายุ 4 คน ผู้นำชุมชน 1 คน ผู้นำศาสนา จำนวน 1 คน 2. มีกลไกการทำงาน กำหนดบทบาทหน้าที่ มีกติกาชัดเจน
1.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย และแกนนำ มีความรู้ เข้าใจ และตระหนักรู้การดูแลสุขภาพกาย และจิตใจด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ โดยวัดจากแบบประเมิน ก่อน-หลัง รับการอบรม 2.มีฐานข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย และผู้เข้าร่วมกิจกรรม 3.เกิดแกนนำเครือข่ายดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 1 กลุ่ม
80.00

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมดูแลสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 ได้รับการดูแล มีสุขภาพกายและจิตใจที่ดี 2.มีการจัดเก็บข้อมูลกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 100 3.มีชุดข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลตนเองของกลุ่มเป้าหมาย
80.00

 

4 เพื่อให้ความเสี่ยงในการเกิดความเครียดของผู้สูงอายุลดน้อยลง
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 70 ของผู้สูงอายุมีความเครียดลดน้อยลง คือ นอนหลับดี กินได้ 2. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 90 มีผลการประเมินแบบคำถาม 2Q และ 9Q ปกติ 3.เกิดผู้สูงอายุจิตแจ่มใสต้นแบบ อย่างน้อย 6 คน
70.00

 

5 เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด : 1.เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด 100% 2.สามารถจัดส่งรายงานต่างๆ ได้ตามกำหนด
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีคณะทำงาน กลไกการดูแลสุขภาพจิตของผู้สูงอายุที่เข้มแข็ง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย และแกนนำ มีความรู้ เข้าใจ และตระหนักรู้การดูแลสุขภาพกาย และจิตใจด้วยตนเอง (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมดูแลสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป (4) เพื่อให้ความเสี่ยงในการเกิดความเครียดของผู้สูงอายุลดน้อยลง (5) เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การบริหารจัดการโครงการ (2) ประชุมคณะทำงานด้านสุขภาพจิตของผู้สูงอายุในชุมชน (3) “คนมากประสบการณ์ที่น่าสนใจ” แลกเปลี่ยนแนวทางดำเนินชีวิต ระหว่างกลุ่มเป้าหมายด้วยกันโดยใช้คัมภีร์อัลกุรอาน เพื่อปรับพื้นฐานสุขภาพใจผู้สูงอายุ (4) 3  จัดอบรมเรื่องการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ และการใช้อัลกุรอาน เพื่อปรับพื้นฐานสุขภาพใจผู้สูงอายุ (5) เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุในชุมชน( 4 ครั้ง) (6) จัดการประชุมติดตามผล AREครั้งที่1 (7) สรุป ถอดบทเรียน คืนข้อมูลให้ชุมชน “สุขที่ได้เจอ รอยยิ้มที่วาดฝัน”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh