directions_run

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อสนับสนุนให้มีกลไกคณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานหมู่บ้านละ 7 คน ที่มีการขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกหมู่บ้าน (ประกอบด้วย ผู้นำหมู่บ้าน 1 คน, อสม. 2 คน, ตัวแทนครัวเรือน 2 คน, ตัวแทนร้านเครื่องดื่มชง 1 คน และ บุคลากรสาธารณสุข 1 คน ) 2.ร้อยละ 100 ของคณะทำงาน มีทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
0.00

 

 

 

2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : .ร้อยละ 100 ของผู้ร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น 2.ทุกหมู่บ้านมีการสื่อสารเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
0.00

 

 

 

3 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุภาพ 2.ร้อยละ 100 ของร้านเครื่องดื่มชง มีเมนูลดหวาน อย่างน้อย 1 เมนู 3.ร้อยละ 50 ของงานบุญ งานประเพณีในชุมชนปลอดเครื่องดื่มที่มีรสหวาน
0.00

 

 

 

4 เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของคนวัยทำงานที่มีอายุ 25 – 59 ปี ที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายลดลง 2.มีบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างน้อยหมู่บ้านละ 5 คน
0.00