directions_run

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มวัยทํางานที่มีความเสี่ยง รพ.สต.ดอนประดู่

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสนับสนุนให้มีกลไกคณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.มีคณะทำงานหมู่บ้านละ 7 คน ที่มีการขับเคลื่อนงานอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทุกหมู่บ้าน (ประกอบด้วย ผู้นำหมู่บ้าน 1 คน, อสม. 2 คน, ตัวแทนครัวเรือน 2 คน, ตัวแทนร้านเครื่องดื่มชง 1 คน และ บุคลากรสาธารณสุข 1 คน ) 2.ร้อยละ 100 ของคณะทำงาน มีทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : .ร้อยละ 100 ของผู้ร่วมโครงการมีความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพิ่มมากขึ้น 2.ทุกหมู่บ้านมีการสื่อสารเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุภาพ 2.ร้อยละ 100 ของร้านเครื่องดื่มชง มีเมนูลดหวาน อย่างน้อย 1 เมนู 3.ร้อยละ 50 ของงานบุญ งานประเพณีในชุมชนปลอดเครื่องดื่มที่มีรสหวาน
0.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายลดลง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 90 ของคนวัยทำงานที่มีอายุ 25 – 59 ปี ที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายลดลง 2.มีบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างน้อยหมู่บ้านละ 5 คน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 78
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มวัยทำงานที่มีอายุ 25 – 59 ปี 40
ร้านขายเครื่องดื่มชง 8
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนให้มีกลไกคณะทำงานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในชุมชน (2) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีความรู้และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มวัยทำงานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (4) เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานมีค่าดัชนีมวลกายลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน  (ประชุม 3 ครั้ง  ทุกหมู่บ้านหมู่บ้านละ 7 คน รวม 21 คน) (2) อบรมให้ความรู้แก่คณะทำงานเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยตัวเอง (คณะทำงานหมู่บ้านละ 7 คน รวม 21 คน) (3) พัฒนาศักยภาพผู้รับทุนครั้งที่ 1 (ปฐมนิเทศผู้รับทุน) (4) สนับสนุนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย (5) อบรมให้ความรู้ทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มวัยทำงาน (เป้าหมาย จำนวน 40 คน) (6) รณรงค์ให้มีเมนูลดหวานในชุมชน (7) ประเมินและติดตามผลการทำงาน (ARE ) ครั้งที่ 1 (8) เวทีถอดบทเรียนและวิเคราะห์ข้อมูลสู่ชุมชน (9) ประเมินและติดตามผลการทำงาน (ARE ) ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh