directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในชุมชนบ้านชะรัด

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1.มีคณะทำงานเพื่อลดกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่า 20 คน 2.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ความตระหนักเรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยง 3.การปรับสภาพแวดล้อมในชุมชน เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพ ติกรรมการบริโภค 4. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องเหมาะสม 5.เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : 1. มีคณะทำงาน ประกอบด้วยผู้นำชุมชน อสม. และผู้นำศาสนา ผู้ประกอบอาหาร 2. มีข้อตกลงการทำงานที่ชัดเจน มีการจัดแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสม 3. มีแผนการปฏิบัติงานรายเดือน 4. มีการลงพื้นที่เพื่อประเมินปัญหาภายในชุมชนไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง 5. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 6. กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค และการปรุงอาหารเองภายในครัวเรือน เพิ่มขึ้นร้อยละ 60 7. ครัวเรือนมีการปรุงอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 60 8. มีชุดข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการบริโภค 9. มีกฎกติกาเกี่ยวกับการปรุงอาหารภายในชุมชน อย่างน้อย 2 เรื่อง คือ เครื่องดื่ม ,อาหารลดโซเดียม 10. ผู้ประกอบการอาหาร พ่อค้าแม่ค้าภายในชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการปรุงอาหารเพื่อห่างไกลโรคเบาหวานความดัน ไม่น้อยกว่า 10 ราย 11. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดลงร้อยละ 40 12.กลุ่มเสี่ยงที่เหลือได้รับการติดตามแก้ปัญหา ร้อยละ 70 13.เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด 100 % 14.สามารถจัดส่งรายงานต่างๆ ได้ตามกำหนด