directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในชุมชนบ้านชะรัด

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารในกลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในชุมชนบ้านชะรัด
ภายใต้โครงการ ร่วมทุน อบจ.พัทลุง ปี 2567
ภายใต้องค์กร Node Flagship จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 67-00199-030
วันที่อนุมัติ 15 มิถุนายน 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 15 มิถุนายน 2567 - 14 เมษายน 2568
งบประมาณ 75,000.00 บาท
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านชะรัด
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพนารัตน์ คำทรา
เบอร์โทรผู้รับผิดชอบโครงการ 0898693905
อีเมล์ผู้รับผิดชอบโครงการ Phanarat089@gmail.com
พี่เลี้ยงโครงการ นางสารภี หรนจันทร์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลชะรัด อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.470066,99.979764place
stars
2. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 15 มิ.ย. 2567 15 พ.ย. 2567 37,500.00
2 16 พ.ย. 2567 15 มี.ค. 2568 30,000.00
3 16 มี.ค. 2568 16 เม.ย. 2568 7,500.00
รวมงบประมาณ 75,000.00
stars
3. ประเด็นที่เกี่ยวข้อง
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
4. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านชะรัด รับผิดชอบดูแลพื้นที่ มีจำนวน 6 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 4,5,6,7,8,และหมู่ที่ 9 ตำบลชะรัด ซึ่งมีหลังคาเรือน ทั้ง 6 หมู่บ้าน จำนวน 1,106 หลังคาเรือน มีประชากร กลุ่มเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-
1.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
5. กรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์หลัก

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.มีคณะทำงานเพื่อลดกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไม่น้อยกว่า 20 คน 2.กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีความรู้ความตระหนักเรื่องพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เหมาะสม เพื่อลดความเสี่ยง 3.การปรับสภาพแวดล้อมในชุมชน เอื้อต่อการปรับเปลี่ยนพ ติกรรมการบริโภค 4. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกต้องเหมาะสม 5.เพื่อให้การบริหารจัดการโครงการบรรลุเป้าหมาย
  1. มีคณะทำงาน ประกอบด้วยผู้นำชุมชน อสม. และผู้นำศาสนา ผู้ประกอบอาหาร
  2. มีข้อตกลงการทำงานที่ชัดเจน มีการจัดแบ่งหน้าที่อย่างเหมาะสม
  3. มีแผนการปฏิบัติงานรายเดือน
  4. มีการลงพื้นที่เพื่อประเมินปัญหาภายในชุมชนไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง
  5. กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
  6. กลุ่มเสี่ยงมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค และการปรุงอาหารเองภายในครัวเรือน เพิ่มขึ้นร้อยละ 60
  7. ครัวเรือนมีการปรุงอาหารที่ถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 60
  8. มีชุดข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการบริโภค
  9. มีกฎกติกาเกี่ยวกับการปรุงอาหารภายในชุมชน อย่างน้อย 2 เรื่อง คือ เครื่องดื่ม ,อาหารลดโซเดียม
  10. ผู้ประกอบการอาหาร พ่อค้าแม่ค้าภายในชุมชนมีความรู้ที่ถูกต้องในการปรุงอาหารเพื่อห่างไกลโรคเบาหวานความดัน ไม่น้อยกว่า 10 ราย
  11. กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลดลงร้อยละ 40
    12.กลุ่มเสี่ยงที่เหลือได้รับการติดตามแก้ปัญหา ร้อยละ 70
    13.เข้าร่วมกิจกรรมที่แผนงานจัด 100 %
    14.สามารถจัดส่งรายงานต่างๆ ได้ตามกำหนด
stars
7. กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดัน 100 -
คณะทำงานโครงการ 30 -
stars
8. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 263 40,100.00 1 900.00
20 มิ.ย. 67 ปฐมนิเทศโครงการ 3 900.00 900.00
29 มิ.ย. 67 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 30 3,350.00 -
12 ก.ค. 67 ลงพื้นที่ประเมินปัญหาในชุมชน 30 0.00 -
27 ก.ค. 67 อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง โรคเบาหวาน ความดัน 110 20,100.00 -
10 ส.ค. 67 จัดทำกติกาชุมชน จัดทำโปสเตอร์ ประชาสัมพันธ์ 0 3,200.00 -
6 ก.ย. 67 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 30 750.00 -
20 ก.ย. 67 ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลพฤติกรรมการปรุงอาหารครัวเรือน 30 5,400.00 -
30 ก.ย. 67 อบรมผู้ประกอบการอาหารในชุมชน 30 6,400.00 -

 

stars
9. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เพื่อให้คนในชุมชน มีพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสม

stars
10. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2567 19:39 น.