directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทํางานตําบลโคกชะงาย

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

Node Flagship จังหวัดพัทลุง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทํางานตําบลโคกชะงาย ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายอุทิศ คงทอง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทํางานตําบลโคกชะงาย

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-035 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2567 ถึง 16 เมษายน 2568


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทํางานตําบลโคกชะงาย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ Node Flagship จังหวัดพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทํางานตําบลโคกชะงาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทํางานตําบลโคกชะงาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-00199-035 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2567 - 16 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 75,000.00 บาท จาก Node Flagship จังหวัดพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นการเจ็บป่วยเรื้อรัง และเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของพื้นที่รับผิดชอบของชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว โดยมีพื้นที่รับผิดชอบ 3 หมู่บ้าน ประชากรทั้งหมด 2,739 คน ซึ่งมีประชากรกลุ่มอายุ 35- 59 ปี จำนวน 1,300 คน และเป็นกลุ่มเป้าหมายในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง ในการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตจะพบกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มที่ร่างกาย ยังไม่ปรากฏอาการแสดงที่ผิดปกติและยังไม่เข้ารับการรักษาในสถานบริการสาธารณสุข อีกทั้ง ยังขาดการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ผลการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มเป้าหมาย พบว่า เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความด้นโลหิตสูง จำนวน 397 คน โดยแบ่งแยกออกเป็นกลุ่มที่ความเสี่ยงต่ำ จำนวน 281 คน กลุ่มเสี่ยงสูง จำนวน 75 คน (ร้อยละ 8.84) กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 41 คน (ร้อยละ 4.83)
ปัญหากลุ่มเสี่ยงโรคความดันโรคความดันโลหิตสูงเกิดจากการมีกิจกรรมทางกายน้อย การบริโภคอาหารที่มีส่วนประกอบของเกลือ การขาดความรู้ความเข้าใจการดูแลสุขภาพป้องกันความดันโลหิตสูง และไขมันสูง ความเครียด การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่ กินแล้วนอน สาเหตุของปัญหาด้านกลไก คณะทำงานในการสร้างเสริมสุขภาพนั้นมีคณะทำงานยังไม่ครอบคลุมทุกภาคส่วน ขาดกติกา คนวัยทำงานมีเวลาการร่วมกลุ่มน้อยเนื่องจากภาระงานของแต่ละคนไม่ตรงกัน นอกจากนี้ยังมีสภาพแวดล้อมเสี่ยงกับการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ไม่ว่าจะเป็นการมีร้านค้า ร้านอาหารและร้านสะดวกซื้อซึ่งมีการขายอาหาร ขนมหวานมันเค็ม มีการบริหารขนส่งถึงบ้าน ในงานบุญ งานเลี้ยงต่าง ๆในชุมชน อาหารเน้นเนื้อ เน้นใส่เครื่องปรุงรสปริมาณสูง ซึ่งเป็นสภาพแวะล้อมเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ถ้าหากไม่ดำนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มสงสัยป่วยและกลุ่มเสี่ยงสูง มีโอกาสเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ส่งผลให้ไม่ได้ทำงานเพื่อดูแลครอบครัว ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนเพิ่มขึ้น และหากมีอาการของโรครุนแรงขึ้นกลายเป็นกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิง ต้องมีผู้ดูแล กลายเป็นปัญหาครอบครัวและสังคม ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว จึงดำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทำงานตำบลโคกชะงายโดยภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง เพื่อให้กลุ่มวัยทำงานดูแลสุขภาพมากขึ้นและลดผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสียงโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนงานเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงมีประสิทธิภาพ
  3. เพื่อปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
  4. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลสุขภาพลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
  5. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีค่าความดันโลหิตมีแนวโน้มลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 เวทีสร้างความเข้าใจโครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
  2. 3 ประชุมคณะทำงาน
  3. 2 อบรมเชิงปฏิบัติการปรับพฤติกรรมลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
  4. 4 ติดตามเยี่ยมเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
  5. 5 จัดตั้งกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ
  6. 8 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  7. 6 พัฒนาศักยภาพแม่ครัวต้นแบบ
  8. 7 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส
  9. 9 เวทีติดตามประเมินผลและพัฒนา(ARE)
  10. 10 สรุป/ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสียงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1.1 คนวัยทำงานมีความรู้และตระหนักความสำคัญของปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง อย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย 1.2 มีแผนงานการดูแลสุขภาพปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยงที่เหมาะสมวัยทำงานของตนเองอย่างน้อยร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
80.00

 

2 เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนงานเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 2.1 เกิดคณะทำงานทุกภาคส่วน 20 คนที่สามารถขับเคลื่อนงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.2 มีกติกา/ข้อตกลงของชุมชนที่ได้รับการยอมรับ 2.3 มีข้อมูลและแผนการทำงานการส่งเสริมสุขภาพ อย่างน้อย 1 แผนงาน
20.00

 

3 เพื่อปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 3.1 เกิดกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ อย่างน้อย 2 กลุ่ม 3.2 เกิดตลาดสุขภาพ อย่างน้อย 1 แห่ง 3.3 เกิดแม่ครัวต้นแบบ อย่างน้อย 1 กลุ่ม
1.00

 

4 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลสุขภาพลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 4.1 กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ได้ ร้อยละ 80 4.2 จำนวนบุคคลต้นแบบ อย่างน้อย 10 คน
80.00

 

5 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีค่าความดันโลหิตมีแนวโน้มลดลง
ตัวชี้วัด : 5.1 จำนวนกลุ่มเป้าหมายความดันโลหิตลดลง ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสียงโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้เกิดกลไกขับเคลื่อนงานเฝ้าระวังโรคความดันโลหิตสูงมีประสิทธิภาพ (3) เพื่อปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (4) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดูแลสุขภาพลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (5) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีค่าความดันโลหิตมีแนวโน้มลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1  เวทีสร้างความเข้าใจโครงการพัฒนาพฤติกรรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง (2) 3  ประชุมคณะทำงาน (3) 2  อบรมเชิงปฏิบัติการปรับพฤติกรรมลดความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (4) 4  ติดตามเยี่ยมเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (5) 5  จัดตั้งกลุ่มสร้างเสริมสุขภาพ (6) 8 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (7) 6 พัฒนาศักยภาพแม่ครัวต้นแบบ (8) 7 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ  2ส (9) 9 เวทีติดตามประเมินผลและพัฒนา(ARE) (10) 10 สรุป/ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการลดเสี่ยงความดันโลหิตสูงกลุ่มวัยทํางานตําบลโคกชะงาย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-00199-035

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอุทิศ คงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด